วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ผลวิเคราะห์จากผู้จัดทำ


ผลการวิเคราะห์ภายในกลุ่ม





ในความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่ม พวกเราคิดว่า ประเทศเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ไม่สามารถจะรวมเป็นประเทศเดียวกันได้ เพราะทั้งสองประเทศนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมาก เช่น เรื่องของการปกครอง ทั้งสองประเทศนั้น มีการปกครองที่แตกต่างกันอย่างมาก โดย ทางเกาหลีเหนือนั้นมีการปกครองในรูปแบบของคอมมิวนิสต์ ส่วนทางฝ่ายเกาหลีใต้นั้นมีรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตย ส่วนเรื่องทางด้านเศรษฐกิจ นั้นทางด้านเกาหลีใต้นั้น มีอิสระในการดำเนินการทางเศรษฐกิจได้มากกว่า เกาหลีเหนือ และมีสิทธิแลเสรีภาพในการดำรงชีวิตมากกว่าอีกด้วย

ทั้งนี้ปัจจุบันทั้งสองประเทศยังไม่สามารถที่จะตกลงการรวมประเทศกันได้ จึงเป็นปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้ ตั้งแต่ทั้งสองประเทศแบ่งดินแดนออกจากกัน

วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ชาวเกาหลี กับ การอพยพ





ชาวเกาหลีพากันอพยพออกนอกประเทศ กระจายกันไปหลายประเทศทั้งถูกและผิดกฎหมาย

สหรัฐอเมริกา เป็นที่หนึ่งที่ชาวเกาหลีอพยพไป ก่อเนื้อสร้างตัวเป็นจำนวนมาก

เรื่องราวของชาวต่างชาติที่อพยพเข้าไปอยู่ในสหรัฐ รัฐเวอร์จิเนีย เป็นย่านเชื้อชาติเกาหลี ที่ทราบกันดีว่าสหรัฐเป็นสังคมของผู้อพยพ ชาวยุโรปเข้าไปตั้งหลักแหล่งในอเมริกาหลังจากคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เดินเรือไปถึงทวีปนั้นเมื่อปี 2035 หลังจากผู้ไปตั้งหลักแหล่งที่นั่นรวมตัวกันประกาศตนเป็นประเทศเอกราชเมื่อปี 2319 แล้ว สหรัฐก็ยังเปิดรับผู้อพยพจากยุโรปแบบไม่อั้นต่อมาเป็นเวลานาน แต่ในปัจจุบันสหรัฐจำกัดจำนวนผู้อพยพทั้งจากยุโรป และประเทศอื่น นอกจากผู้ที่อพยพเข้าไปแบบถูกกฎหมาย เช่น ผู้ที่ลักลอบเข้าไปอีกปีละมากๆ โดยเฉพาะจากละตินอเมริกาเพราะทุกคนมองว่า สหรัฐจะเปิดโอกาสให้เขาก่อร่างสร้างตัวได้เร็ว
ผู้อพยพเข้าไปใหม่มักไปตั้งหลักแหล่งในย่านที่มีผู้อพยพจากชาติเดียวกันตั้งหลักแหล่งอยู่ก่อนแล้ว ในรัฐเวอร์จิเนียตอนเหนือ ซึ่งเชื่อมต่อกับกรุงวอชิงตันมีชุมชนของผู้อพยพอยู่หลายชุมชน รวมทั้งเกาหลีและญวน ผู้อพยพส่วนใหญ่มักใช้โอกาสทองของตน ก่อร่างสร้างตัวอย่างทุ่มเท จำนวนมากประสบความสำเร็จโดยเฉพาะชาวเกาหลีซึ่งมีความขยันหมั่นเพียรเป็นเลิศ ฉะนั้นในย่านนั้นจึงมีพื้นที่ส่วนหนึ่งซึ่งเต็มไปด้วยชาวเกาหลีจนมีสมญาว่า "เมืองเกาหลี" (Korean Town) ในทำนองเดียวกันกับที่เมืองใหญ่ๆ ในส่วนต่างๆ ของโลกมี "เมืองจีน" (Chinatown)
ในย่านกรุงวอชิงตันและปริมณฑลชาวเกาหลียึดธุรกิจซักรีดไว้ได้เป็นส่วนใหญ่ ชาวเกาหลีที่อพยพเข้าไปในย่านนั้น จึงมักได้งานในร้านซักรีดของชาวเกาหลีด้วยกันเป็นงานแรก เช่น ครอบครัวของนักศึกษาผู้ก่อเหตุ
ความมุ่งมั่นในการก่อร่างสร้างตัวของชาวเกาหลีและผู้อพยพเข้าไปในสหรัฐใหม่ๆ มักผลักดันให้พวกเขา ทำงานกันแบบหามรุ่งหามค่ำ จำนวนมากทำงานสองสามอย่าง ในแต่ละวันพวกเขาส่วนใหญ่จึงแทบไม่มีเวลาเห็นหน้าลูก แต่พวกเขาจะกดดันให้ลูกเรียนหนังสืออย่างทุ่มเท การกดดันนี้มีผลทันตาเห็น นั่นคือ ทุกครั้งที่มีการประกาศรายชื่อนักเรียนมัธยม ที่มีผลการเรียนเป็นเลิศ จะมีชื่อของเด็กเกาหลีและเด็กญวนติดอยู่ในอันดับต้นๆ หลายคนเสมอ
การทำงานอย่างทุ่มเทมีผลดีในแง่ที่ชาวเกาหลีจะตั้งตัวได้อย่างรวดเร็วและส่วนใหญ่ซื้อบ้านได้ในเวลาอันสั้น เช่น พ่อแม่ของผู้ก่อเหตุ ความดกดันจากพ่อแม่เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กเกาหลีสอบได้คะแนนสูง และสามารถเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยชั้นดี เช่นเวอร์จิเนียเทคได้เป็นจำนวนมาก แต่ในขณะเดียวกันไม่เป็นที่น่าแปลกใจ ที่ในบางกรณีจะมีเด็กที่ปรับตัวไม่ได้ และสะสมความเก็บกดไว้เป็นเวลานาน
เมื่อไปเผชิญกับความกดดันอันเกิดจากการแข่งขันหาความเป็นเลิศอย่างเข้มข้นและความเป็นตัวใครตัวมันสูงในสังคมภายนอก


สาเหตุของสงครามเกาหลีเหนือ vs เกาหลีใต้








เกาหลีก่อนแยกเป็นเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ เดิมเมืองหลวงอยู่ที่กรุงโซล เมืองที่เป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศมานานกว่า 600 ปี มีแม่น้ำฮันกังไหลผ่านและเทือกเขานัมซันตั้งอยู่ใจกลางเมือง ประวัติของเกาหลีก่อนที่จะเจอสงครามเย็นจนแยกออกเป็นสองประเทศนั้นเคยถูกทั้งจีนและญี่ปุ่นรุกรานจนอ่วมไปหนักหนาสาหัสแล้วส่วนสงครามเกาหลีซึ่งเกิดขึ้นในปีค.ศ.1950-1953เป็นช่วงต่อจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และเริ่มต้นสงครามเย็นดังนั้นต้องย้อนประวัติศาสตร์ไปหน่อย เรื่องมีอยู่ว่าสหภาพโซเวียต ภายใต้การนำของสตาลิน จดๆจ้องๆจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นอยู่แล้ว พออเมริกาทิ้งปรมาณูบอมบ์ฮิโรชิม่าจนญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้เมื่อ 15 ส.ค. 1945 เท่านั้นแหละ โซเวียตก็ยกทัพบุกแมนจูเรียกับเกาหลีทางเหนือทันที ซึ่งทั้งสองดินแดนที่ว่านี้ก็ค่อนข้างยินดี เนื่องจากเกลียดญี่ปุ่นจับจิตอยู่แล้วแต่สำหรับมหาอำนาจสหรัฐอเมริกา ซึ่งเพิ่งคว้าชัยมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มองสถานการณ์นี้แบบไม่พอใจนัก เนื่องจากกลัวว่าลัทธิคอมมิวนิสต์ของโซเวียตจะแผ่อาณาจักรมากขึ้น จึงยื่นมือเข้าไปปรามโซเวียตว่า จะต้องแยกอำนาจเกาหลีออกเป็นสองฝ่าย โดยให้โซเวียตกำกับดินแดนที่อยู่เหนือเส้นขนาย 38 ขึ้นไป

ในช่วงเวลาดังกล่าวการเมืองของเกาหลีทั้งฝ่ายเหนือฝ่ายใต้วูบวาบตลอดเวลา แต่ฝ่ายเหนือดูเหมือนจะมั่นคงกว่า เมื่อโซเวียตหนุนหลังคิม อิล ซุง สร้างอำนาจเต็มที่ ขณะที่ฝ่ายใต้แตกแยกเป็นฝ่ายนิยมคอมมิวนิสต์กับฝ่ายต่อต้าน โดยมีอเมริกาแอบหนุนหลังฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์จนครองอำนาจเสร็จในปี 1947 ฝ่ายเหนือและใต้พยายามจะเปิดเจรจาเพื่อรวมชาติหลายครั้ง แต่ทั้งโซเวียตและอเมริกาต่างไม่ยอม เพราะกลัวจะเสียท่าให้อีกฝ่าย ในที่สุดทั้งสองดินแดนจึงจัดเลือกตั้งและมีรัฐบาลแยกตัวกันอย่างเด็ดขาด นำไปสู่การทำสงครามในปี 1950 เมื่อเกาหลีเหนือยิงปืนใหญ่ข้ามไปถล่มเกาหลีใต้ครั้งแรกวันที่ 25 มิ.ย. 1950 กว่าสงครามจะยุติลงก็ดำเนินไปถึงวันที่ 27 ก.ค. 1953ตอนนั้นสงครามก็คร่าชีวิตชาวเกาหลีไปมากกว่า 3 ล้านราย(10 ก.พ. 2543)
ความพยายามรวมประเทศหลังสงคราม
เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสันติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจากับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เริ่มจากการเจรจาระหว่างสภากาชาดฝ่ายใต้และเหนือ เพื่อให้ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศเมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เพื่อยติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศไม่ราบรื่น ที่ประสบผลมีเพียงการอนุญาตให้ชาวเกาหลีทั้งสองประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุงโซล เท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆหยุดชะงักลงหลังพ.ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจเกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐ ซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผู้นำครั้งแรกเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายครั้ง อย่างไรก็ตามการรวมชาติเกาหลียังเป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อไปจนกระทั่งปัจจุบัน





วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Sunshine Policy



The Government of the People's Sunshine Policy toward North Korea and Plans for Implementation
What Is the Sunshine Policy?

The Sunshine Policy is the mainstay of the Republic of Korea's North Korea policies aimed at achieving peace on the Korean Peninsula through reconciliation and cooperation with the North. It is not a simple appeasement policy in that it pursues peace on the basis of a strong security stance.
The Government recognizes realityกชthe reunification of two Koreas will not be achieved in the near future as the two sides have been facing off in conflicts and confrontation for more than half a century. The Government believes that settlement of peace and coexistence is more important than anything else at the present time. This is why the "Government of the People"the Kim Dae-jung Administrationกชhas adopted the Sunshine Policy based on three principles. The three principles stipulate that first, we will not tolerate any armed provocation hampering peace on the peninsula; second, we will not try to hurt or absorb North Korea; and third, we will actively push reconciliation and cooperation with the North beginning with those areas which can be most easily agreed upon. By faithfully complying with the Agreement on Reconciliation, Nonaggression, and Exchanges and Cooperation Between the South and the North (the Basic Agreement), it is hoped that the Pyongyang authorities will begin down the road to reform and change.
Even after East European Communist regimes crumbled in the later years of the 1980s, North Korea steadfastly maintained closed-door, hostile policies against the South in a belief that reform and open-door policies might lead to its demise and ultimate absorption into the South. Such defensiveness has been the fundamental obstacle to peace and improved relations between the two sides.
There are two approaches that the Republic is taking in an effort to change North Korean attitudes. First, the Government is trying to persuade Pyongyang that their scheme to unify the peninsula by force is just not possible. The Government has been diligent in building a strong defense posture that can counter any armed adventure by the North. Recognizing the paramount importance of a strong deterrent, the Administration will continue to place top priority on the maintenance of adequate national defense capability.
Second, the Republic is trying to promote an atmosphere that will help Pyongyang start to reform and open up on its own volition. It is hoped that the North Korean authorities will recognize that dialogue and cooperation with the South will actually help them stabilize their regime and benefit themselves. They need to understand that reform and outward-looking policies will not lead to annexation by the South. Far from it, time and again, the Republic has made the point that it has no intention of absorbing the North. The Government is actively pushing for South-North cooperation and exchangesกช especially in the private sector and in humanitarian areas. Government-to-government exchanges, however, will be carried out on the principle of reciprocity. For instance, the Administration has tabled an offer to donate 200,000 tons of fertilizer because, in the recent Beijing talks, Pyongyang refused to allow members of separated families in the South to visit their relatives in the North. The Sunshine Policy is meant to embrace the North, but it is not a give-away charity.
The unification of Germany provides a convincing rationale for the Republic's stance that it will not absorb North Korea. After the sudden collapse of East Germany, West Germany was tremendously burdened by a slew of problems originating from the other side. Presently, North Korea is faced with wide-spread famine and economic disaster. North Korea watchers agree that, should North Korea suddenly crumble, the resulting social chaos and financial costs would be beyond the ability of South Korea to absorb. It is the judgement of the Government that at the moment it is in the best interest of the Republic to prevent an abrupt collapse of the North, and, instead, to work for gradual improvement in bilateral relations and unification by encouraging them to reform and open up.
This is where the Sunshine Policy comes in. It is aiming at providing an environment that will allay their fears and help them to choose to come out of their cocoon. With the Sunshine Policy, the Government hopes to engage Pyongyang and lead it to a "soft-landing" on the road to permanent peace on the Korean Peninsula.
Why is the Sunshine Policy Needed?
Reunification still remains the most important national objective and aspiration of Koreans. But we have to recognize that it cannot be realized without first putting an end to the cold-war confrontation with the North and establishing solid peace on the peninsula. The half-a-century old distrust and enmity should be replaced with reconciliation and cooperation so that the two sides can live peacefully based on mutual trust. It is regrettable that North Korea is sticking to its policy of unifying the country by force. The Pyongyang authorities are still reluctant to come forward for inter-Korea exchanges and cooperation for fear that that might adversely affect their hold on the people.
The Government feels it is necessary to persuade the North on the benefits that they would be reaping from exchanges with the South rather than apply hostile pressure or an economic blockade. As we have learned in the past, hostile policies and blockades only worsen the situation and intensify political and military confrontation. Heightened tensions are bound to bring on an armed race burdening both sides heavily. It certainly would hurt the Republic's current efforts to induce foreign investments and overcome the economic crisis. What is worse, if North Korea were to collapse as the result of a blockade or under its own weight, the cost of being forced to care for our North Korean brethren would be enormous. In addition, there would always be the chance that a desperate Pyong-yang would go the hot war route. All these options considered, the Sunshine Policy seems to be the only sensible alternative.
Now that East-West confrontation is long gone, the Government's Sunshine Policy is actively supported by the U.S., China and other neighboring countries. It is in line with our friends' approaches to Pyongyang. China and the U.S. have been extending economic assistance to North Korea since its food situation became critical in a bid to prevent the sudden downfall of the Pyongyang regime and the resulting chaos that would surely threaten the stability of Northeast Asia. Washington is pursuing a policy of engagement and intervention in the region in an effort to neutralize North Korean hostility toward the outside world and induce it to a soft landing in a peaceful world.

How is the Sunshine Policy Being Implemented?

The Government regards the 1992 Basic Agreement Between the South and the North as the most important document because it sets out matters of fundamental importance. Both Koreas should start complying with the provisions of the Agreement. The present Kim Dae-jung Administration intends to actively pursue South-North dialogue and has already proposed, among other things, an exchange of special envoys to prepare for communication between the top leaders of the two sides. When South-North dialogue resumes, the Government hopes to discuss easier and practical issues first, instead of trying to tackle all the issues contained in the Basic Agreement.
Economic cooperation between the South and the North will be carried out in a way that honors the independence of private businesses and the principle of give and take. The South could provide what the North wants first, but the details would have to be decided through mutual consultation and agreement. To facilitate inter-Korea trade, the Government has taken measures to abolish the investment ceiling, simplify trading procedures, and encourage business trips to the North.
As the two sides begin exchanges, the one area that looms rather prominently in the minds of Government policy makers is a humanitarian one. After being separated 50 years ago, 10 million Koreans still have close relatives who live on the other side of the Military Demarcation Line. They do not even know if they are still alive. Considering the advancing age of the first-generation separated family members, the Government of the People feels that it is most urgent that North Korea respond to our call for reunions of those families without any further delay. The Government has already decided to simplify passport issuance for older people applying to visit North Korea. Low-income travelers will be subsidized. When the South-North talks resume, the Government will give priority to pushing for the realization of exchanges of mail and "hometown visitors," and the establishment of places for family reunions.
The Government is taking the position that food shipments to Pyongyang should continue, considering the North's acute food shortage. Private-level humanitarian food assistance will be provided free of charge, but large-scale food assistance by the Government will be tied to the North's reciprocal actions. In addition, the Administration is carrying out several programs aimed at fundamentally improving the North's food production system through joint South-North agricultural development and other economic cooperation projects.
The South Korean Government is also constructing a light-water nuclear reactor in North Korea in return for Pyongyang's promise to freeze its nuclear program. The power facilities should benefit all Koreans in the long run. The nuclear reactor project will continue not only because the Government is taking the initiative, but also because it is part of an international agreement. It will be carried out in the most cost-effective way. Also, the Republic will consult closely with the U.S. and Japan, the two other parties to the agreement, to ensure that they contribute their share of the costs and help finish the project on time.
The Government is determined to improve South-North relations based on the 1992 Basic Agreement. In tandem with efforts to have direct communications with Pyongyang, the Government is exerting all-out efforts to settle peace on the peninsula through the Four-Party Talks and contacts with other members of the international community. The South-North dialogue will focus on inter-Korea reconciliation and cooperation while the Four-Party Talks will concentrate on building a permanent peace structure on the peninsula shifting away from the tentative peace brought about by the 1953 Armistice Agreement between the warring parties. The Government will also encourage North Korea to develop better relations with other countries including the U.S. and Japan and become a responsible member of international society.
The Sunshine Policy Should Be Implemented Continuously and Consistently

The people of Korea agree that the Republic should embrace their brethren in the North. In a public opinion survey conducted on the February 25 inauguration day, an overwhelming majority of 93.8 per cent supported the Government's North Korea policies. Even in a survey done after the North Korean submarine incursion in June, 62.4 percent of the people supported the Sunshine Policy. That contrasts with the 93.4 percent support given for the policy by a group of North Korea experts in a similar survey.
It is not likely that North Korea will come out of the decades of isolation and self-imposed confinement any time soon just because of our Sunshine Policy. But we also know that Pyongyang's isolation will not go on forever. With the nation's strong resolve and perseverance, we know that the Sunshine Policy will succeed.

Path for Seoul's Sunshine Policy
Op-Ed, The Korea Times
April 5, 2006
Author:
John Park, Associate, Project on Managing the Atom
Belfer Center Programs or Projects:
International Security; Science, Technology, and Public Policy; Managing the Atom

The Kaesong Industrial Complex is the current embodiment of Seoul's sunshine policy towards the North. While Kaesong, strategically located north of the Demilitarized Zone separating the two Koreas, is symbolically important, the massive scale that is envisaged in the coming years is unlikely to be realized in North Korea. Pyongyang's concerns about political contamination will, in practice, limit the growth of inter-Korean economic development projects. Seoul's vision of closer integration between the two Koreas, however, can be realized in northeastern China.
While the North Korean nuclear crisis drags on with placebo-like six-party talks meetings that are once again in limbo, a promising way for Seoul to implement integration with the North has emerged during a different set of gatherings in Beijing. While the focus of the recent Chinese National People's Congress' (NPC) 11th Five-Year Development Program was the reduction of the growing gap on the mainland between those benefiting immensely from China's economic growth and those increasingly left behind, an unintended potential beneficiary is South Korea and its sunshine policy.
Contributing to the creation of prosperity and jobs in the Chinese rust belt provinces along the Sino-North Korean border constitutes a unique opportunity for the South Korean government to enable its sunshine policy to flourish. (The Roh Moo-hyun administration refers to the sunshine policy as the "Peace and Prosperity Policy.") By building factories and infrastructure projects in the area along the Sino-North Korean border with the participation of South Korean private sector firms, Seoul would be assisting the development of a regional engine of growth that would surpass Kaesong.
South Korean factories in joint ventures with Chinese firms could bring about the construction of massive industrial zones that would straddle the border. For political considerations, rather than 100 percent-owned and operated by South Korean factories and construction companies, strategic investments by South Korean small and medium enterprises (SMEs) into Chinese firms would create a way to side-step North Korean concerns about political contamination from South Korea.
The Kaesong project would continue given its symbolic significance, but the major tangible change and benefits would be realized through industrial areas along the Sino-North Korean border. A win-win situation would be created for these core parties in the region. As the tide rises, so too will all the boats. For the sunshine policy to emerge to be more than a trickle, Seoul should seek to play a major role in fostering the creation of such a tide in China's northeastern region. Being left out of that phenomenon would ensure that Seoul's economic engagement of the North would be dwarfed in relation to China's rising commerce with its neighbor. Indeed, a South Korean policy based solely on Kaesong would eventually make this complex little more than a model village of inter-Korean integration dreams for South Korean tourists.
The last time Seoul developed and implemented a creative and highly effective policy to deal with North Korea was in the late 1980s and early 1990s with Nordpolitik. Dangling trade incentives, Seoul successfully established diplomatic relations with North Korea’s core allies—China, the former Soviet Union, and Soviet bloc countries. Nordpolitik garnered Seoul greater political capital in the inter-Korean dynamic as it sought detente with Pyongyang. By focusing more on significantly developing the northeastern Chinese provinces, a strategically enlarged sunshine policy would thrive and facilitate greater engagement of Pyongyang as North Korean provinces would be drawn further into this localized economic development frenzy.
While the North Korean nuclear issue increasingly becomes a chronic part of the security landscape in the region, more economic development activity will continue to be rapidly fostered by Beijing. Trade with North Korean provinces will figure more into national as well as provincial initiatives in China. As this trend accelerates, the South Korean government has a strategic choice to make—to focus largely on Kaesong-type initiatives based on grand dreams or to implement a novel, bold policy in northeastern China that would integrate South Korea into a swelling economic phenomenon. To continue following only the former route would be to miss a strategic opportunity as the real road to North Korea is, and increasingly will be, through China.
John S. Park is the project leader of the North Korea Analysis Group at the Belfer Center for Science and International Affairs at Harvard University’s Kennedy School of Government. His research examines the negotiating strategies of the six-party talks countries.

For more information about this publication please contact the
Belfer Center Communications Office at 617-495-9858.
For Academic Citation:Park, John S. "Path for Seoul's Sunshine Policy." The Korea Times (2006 Apr 5).

ข้อมูลข่าวสาร

ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร





รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้ระบุการเจรจาเรื่องนิวเคลียร์เกาหลีเหนือมาถึงจุดหัวเลี้ยวหัวต่อ


ความพยายามของนานาประเทศเพื่อยุติโครงการนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือดำเนินมาถึงจุดหัวเลี้ยวหัวต่อ เนื่องจากยังตกลงกันไม่ได้เกี่ยวกับโครงการอาวุธลับต้องสงสัยของเกาหลีเหนือ ทั้งนี้นายซอง มิน-ซูน รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้ยอมรับว่า เป็นเรื่องจริงที่การเจรจามาถึงจุดหัวเลี้ยวหัวต่อเนื่องจากยังมีความคิดเห็นไม่ตรงกันหลายเรื่อง และผู้เกี่ยวข้องจำเป็นต้องหารือกันให้มากขึ้นเกี่ยวกับโครงการอาวุธนิวเคลียร์ลับของเกาหลีเหนือ ทั้งนี้ภายใต้ข้อตกลง 6 ฝ่ายกำหนดให้เกาหลีเหนือรื้อถอนโรงงานนิวเคลียร์ที่สำคัญภายในวันที่ 31 ธันวาคมนี้ และประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมด แต่เกาหลีเหนือไม่เต็มใจที่จะอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการอาวุธนิวเคลียร์ต้องสงสัย ให้สหรัฐทราบ.




นายซอง มิน-ซูน รัฐมนตรีกระทรวงกระทรวงต่างประเทศเกาหลีใต้กล่าววันนี้ว่า เกาหลีเหนือยังคงล้มเหลวที่จะประกาศกิจกรรมทางนิวเคลียร์

นายซอง มิน-ซูน รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศเกาหลีใต้แถลงวันนี้ว่า เกาหลีเหนือยังคงไม่สามารถประกาศกิจกรรมทางนิวเคลียร์ทั้งหมดของเกาหลีเหนือได้ และการเจรจาระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือกำลังอยู่ในขั้นวิกฤต ถ้อยแถลงของนายซองดูเหมือนว่าจะเป็นไปในทางที่ไม่น่าพอใจมากกว่าถ้อยแถลงของนายคริสโตเฟอร์ ฮิล หัวหน้าผู้เจรจาทางนิวเคลียร์ของสหรัฐ หลังจากที่นายฮิลได้เสร็จสิ้นการเยือนเกาหลีเหนือนาน 3 วัน นายซองกล่าวถึงเรื่องนี้หลังจากที่การประกาศกิจกรรมทางนิวเคลียร์ทั้งหมดของเกาหลีเหนือจะต้องถูกเลื่อนออกไปอีก และการประกาศถอดถอนชื่อเกาหลีเหนือออกจากบัญชีประเทศให้การสนับสนุนการก่อการร้ายของสหรัฐขึ้นอยู่กับการประกาศยกเลิกกิจกรรมนิวเคลียร์ทั้งหมดของเกาหลีเหนือด้วย

สายการบินแดนโสมเจรจานำตัวนักท่องเที่ยวติดค้างในไทยกลับประเทศ

เอเอฟพี – กระทรวงการต่างประเทศเกาหลีใต้เผย เจ้าหน้าที่สายการบินแดนโสมกำลังเจรจากับทางการไทยเกี่ยวกับการใช้สนามบินของกองทัพ เพื่อนำตัวนักท่องเที่ยวชาวโสมที่ติดค้างราว 2,000 คนกลับประเทศ โฆษกกระทรวงต่างประเทศของเกาหลีใต้เผยว่า การเจรจาระหว่างทางการไทย และบริษัทสายการบินโคเรียนแอร์ และเอเชียนากำลังดำเนินไป สำนักข่าวยอนฮับรายงานว่า นักท่องเที่ยว ซึ่งหลายคนมาในช่วงฮันนีมูน ได้ที่พักอาศัยจากทางสายการบินของพวกเขาแล้ว หลังจากนักท่องเที่ยวจำนวนมากติดอยู่ในเมืองไทย หลังจากเกิดการชุมนุมประท้วงปิดล้อมสนามบินทั้งที่สุวรรณภูมิ และดอนเมือง สำนักข่าวแดนโสมยังเสริมว่า สายการบินโคเรียนแอร์ และเอเชียนาจำเป็นต้องยกเลิกเที่ยวบินทั้งหมด 6 เที่ยงบินที่จะเดินทางกลับเกาหลีใต้ในวันพุธ (26) ที่ผ่านมา และอีก 4 เที่ยวบินในวันนี้ (27) ด้วย
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 27 พฤศจิกายน 2551 16:18 น.




โสมเหนือเกือบครึ่งปท.หิวโหย

เอเอฟพีรายงานว่า เมื่อ 8 ธ.ค. องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ หรือเอฟเอโอ และโครงการอาหารโลก เปิดรายงานว่า ชาวเกาหลีเหนือ 8.7 ล้านคน หรือร้อยละ 40 ของประชากรทั้งหมด 23 ล้านคนกำลังต้องการความช่วยเหลือด้านอาหารอย่างเร่งด่วน เนื่องจากพืชผลทางการเกษตรปีนี้ไม่เพียงพอกับการบริโภคในประเทศเพราะสภาพอากาศย่ำแย่ เกิดน้ำท่วมใหญ่ และขาดแคลนปุ๋ย โดยสถาน การณ์จะเลวร้ายกว่าเมื่อครั้งที่เกาหลีเหนือผจญกับการขาดแคลนอาหารเมื่อสิบปีที่แล้วที่มีผู้เสียชีวิตหลายแสนราย ต้องพึ่งความช่วยเหลือจากต่างชาติ

เผยโสมแดงวางตัวบุตรชายคิม นั่งแทนพ่อหากสิ้นลม

เผยเกาหลีเหนือไม่ระส่ำ หากคิม จอง อิล สิ้นชีพ กองทัพไม่ก่อเหตุยึดอำนาจแน่ โดยทายาทบุตรชายที่ได้รับการวางตัวพร้อมที่จะขึ้นเสียบตำแหน่งแทน
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 16 ก.ย.ว่า นายหวาง ชาวเกาหลีเหนือแปรพักตร์ วัย 85 ปี ซึ่งปัจจุบันพำนักภายใต้การควบคุมดูแลของรัฐบาลเกาหลีใต้ เปิดเผยว่า เขาเชื่อว่า เกาหลีเหนือจะไม่เกิดเหตุการณ์กองทัพเข้ามายึดอำนาจประเทศ ในกรณีที่ประธานาธิบดีคิม จอง อิล ซึ่งกำลังล้มป่วยเกิดเสียชีวิตลง เนื่องจากได้มีการวางตัวให้นายจของ นัม บุตรชายของนายคิม พร้อมที่จะขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้นำประเทศแล้ว ซึ่งเขายังได้รับการสนับสนุนจากกองทัพจีน โดยกองทัพจีนพร้อมจะเข้าแทรกแซงหากเกิดภาวะไร้ขื่อแปขึ้นมาในเกาหลีเหนือ ทัศนะดังกล่าวถือเป็นการตอบโต้ทัศนะจากหลายฝ่ายที่มองว่า กองทัพเกาหลีเหนือพร้อมจะผงาดขึ้นยึดอำนาจบริหารประเทศทันที หากประธานาธิบดีคิ อิล ซุง เกิดสิ้นชีพ
ขณะเดียวกัน กระทรวงรวมชาติเกาหลีใต้เผยด้วยว่า ทางการเกาหลีเหนือยังคงอนุญาติให้เจ้าหน้าที่ด้านบรรเทาทุกข์เกาหลีใต้เข้าประเทศ แม้ว่าจะมีกระแสข่าวนายคิม จอง อิล กำลังป่วยจากอาการเส้นเลือดสมองตีบด้วย

By ข่าวด่วน on September 16th, 2008


นายกฯญี่ปุ่นเผยได้รับข่าวกรอง “คิมจองอิล” อยู่ในโรงพยาบาล


เอเอฟพี - ทาโร อาโซะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นเผยโดยอ้างรายงานสำนักข่าวกรองวันนี้ (28) ว่า ดูเหมือน คิมจองอิลผู้นำเกาหลีเหนือกำลังรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลแต่ยังคงมีสติสัมปชัญญะพอที่จะตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้ อาโซะ บอกกับคณะกรรมาธิการด้านนโยบายต่างประเทศของรัฐสภา ว่าญี่ปุ่นได้รับรายงานมีความเป็นไปได้ว่าเขาอยู่ในโรงพยาบาล“อาการของเขาไม่ดีนักแต่เราไม่คิดว่าเขาจะอยู่ในสภาพย่ำแย่จนไม่สามารถตัดสินใจใดๆ ได้” อาโซะกล่าว สถานภาพทางสุขภาพของคิม --และคำถามเกี่ยวกับใครจะเป็นผู้สืบทอดอำนาจต่อจากเขา --คือหัวข้อที่ลือกันหนาหูนับตั้งแต่เขาไม่ได้ไปปรากฎตัวในพิธีสวนสนามฉลองครบรอบก่อตั้งประเทศในช่วงต้นเดือนกันยายน เจ้าหน้าที่สหรัฐฯและเกาหลีใต้ เชื่อว่า ผู้นำวัย 66 ปีผู้รักสันโดษรายนี้ล้มป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตก เมื่อวันจันทร์ (27) สถานีโทรทัศน์ฟูจิของญี่ปุ่นรายงานภาพข่าวศัลยแพทย์ทางสมองชาวฝรั่งเศสซึ่งพวกเขาอ้างว่าถูกร้องขอเป็นการส่วนตัวจากลูกชายคนโตของคิมให้มารักษาเขา นายกรัฐมนตรี อาโซะ ยืนยันว่า เขาทราบข่าวดังกล่าวนี้เช่นกัน“เรารู้เช่นกันว่าแพทย์ชาวฝรั่งเศสบินไปยังจีนไม่นาน” หลังจากเขาพบกับคิมจองนัม ลูกชายของคิมจองอิลในปารีส อย่างไรก็ตาม อาโซะปฏิเสธให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับสุขภาพของคิม




โสมขาวเผย “คิมจองอิล” ฟื้นจากผ่าตัดสมอง-แปรงฟันเองได้แล้ว

คิมจองอิล ผู้นำเกาหลีเหนือ ฟื้นตัวหลังเข้ารับผ่าตัดเพื่อรักษาโรคหลอดเลือดสมอง จนสามารถแปรงฟันได้ด้วยตนเองแล้ว เจ้าหน้าที่รัฐบาลเกาหลีใต้เปิดเผยวันนี้ (12) รายงานข่าวกรณีคิมเข้ารับผ่าตัดสมองเมื่อเดือนที่ผ่านมา มีความไม่แน่นอน ขณะที่ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ ลีเมียงบัค ได้สั่งการเตรียมพร้อมเพื่อลดความสับสนวุ่นวาย หากเกิดการเปลี่ยนแปลงในเหตุการณ์ทางการเมืองของเกาเหลีเหนือ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในกรุงโซล ย้ำว่า ผู้นำโสมแดงวัย 66 ปี ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว และอาการไม่น่าเป็นห่วง แต่รายงานข่าวจากสื่อมวลชน และ ส.ส.รายหนึ่งได้พูดถึงขั้นว่าเขาเป็นอัมพาตและมีอาการชักกระตุก “เขาฟื้นตัวได้เพียงพอที่จะแปรงฟันได้ด้วยตนเองแล้ว” เจ้าหน้าที่รัฐบาลเกาหลีใต้ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวยอนฮับ “อย่างไรก็ตาม รัฐบาลเกาหลีใต้ยังคงจับตาดูสุขภาพของคิมอย่างใกล้ชิด รวมไปถึงสถานการณ์อื่นๆ ในเกาหลีเหนือ ในความคาดหมายต่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่นั่น” เจ้าหน้าที่ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวยอนฮับว่า คิมล้มป่วยเนื่องด้วยเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมองอุดตันและมีความเป็นไปได้ว่าเส้นเลือดในสมองของเขาแตก ขณะที่ ส.ส.ชิง อุย-วา ให้สัมภาษณ์กับรายการวิทยุแห่งหนึ่ง บอกว่า เขาคิดว่าอาการป่วยของคิม อาจถึงขั้นอวัยวะบางส่วนด้านหนึ่งเป็นอัมพาตเลยทีเดียว ด้านหนังสือพิมพ์โชซุน อิลโบ รายงานว่า คิมมีอาการชักกระตุก และเจ้าหน้าที่ของจีน เชื่อว่าเขาจะไม่สามารถบริหารประเทศในระยะยาว อย่างไรก็ตาม หน่วยข่าวกรองเกาหลีใต้ได้แจ้งกับรัฐสภาว่า คิมยังสามารถบริหารประเทศได้ แม้ยังไม่พร้อมที่จะทำกิจกรรมสาธารณะ แต่สามารถพูดได้โดยไม่ติดขัด หน่วยข่าวกรองโสมขาวยังเชื่อว่า ไม่น่าเกิดช่องว่างในการปกครองเกาหลีเหนือ เนื่องจากคิมสามารถฟื้นตัว และหายเป็นปกติได้ หนังสือพิมพ์โชซุน อิลโบ รายงานโดยอ้างแหล่งข่าวทางการทูตในจีนว่า แม้ว่าเขากำลังดีขึ้นเรื่อยๆ แต่อาการชักทำให้เขาไม่สามารถไปปรากฏตัว ณ ขบวนพาเหรดฉลองครบรอบ 60 ปีเกาหลีเหนือเมื่อวันอังคาร (9) สื่อมวลชนฉบับนี้ อ้างด้วยว่า เจ้าหน้าที่ระดับสูงของจีนที่เข้าพบคิมในกรุงเปียงยางก่อนวันฉลองก่อตั้งประเทศ รายงานอาการของผู้นำเกาหลีเหนือกลับไปยังทางการจีน โดยบอกว่าความสามารถทางสมอง และการพูด ของเขาไม่ได้รับความเสียหาย อย่างไรก็ตาม หน่วยข่าวกรองของจีน คิดว่า ความแข็งแรงทางร่างกายของคิม น่าจะลดลงอย่างมาก เพราะเขาต้องหลีกเลี่ยงความตึงเครียด และต้องจำกัดการทำกิจกรรมต่างๆ คาดว่า อาการป่วยครั้งนี้จะเป็นอุปสรรคต่อความสามารถในการบริหารประเทศในระยะยาว


ลือคิม จอง อิล ป่วยเป็นเส้นเลือดตีบ

สื่อมวลชนเกาหลีใต้พากันรายงานเมื่อวันอังคาร (9 ก.ย.) ว่านายคิม จอง อิล ประธานาธิบดีเกาหลีเหนือไม่ได้เดินทางเข้าร่วมพิธีเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 60 ปีการก่อตั้งประเทศ ท่ามกลางข่าวลือแพร่สะพัดว่าผู้นำที่ถือสันโดษกำลังป่วยหนัก
หนังสือพิมพ์โชซอนรายงานอ้างแหล่งข่าวเจ้าหน้าที่ทูตในกรุงปักกิ่ง ประเทศจีนว่า นายคิม จอง อิล วัย 66 ปี ล้มป่วยลงเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม แต่ทั้งทางสถานทูตเกาหลีเหนือ และเจ้าหน้าที่พาณิชย์เกาหลีเหนือประจำกรุงปักกิ่งไม่ได้แสดงให้เห็นว่ามีท่าทีตื่นตระหนกต่อสุขภาพของผู้นำแต่อย่างใด ซึ่งก็อาจเป็นไปได้ว่านายคิม จอง อิลไม่ได้เจ็บป่วยรุนแรง ขณะที่เจ้าหน้าที่กระทรวงรวมชาติของเกาหลีใต้ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องผิดปกติที่นายคิมจะพลาดการเข้าร่วมพิธีสำคัญเช่นนี้ ส่วนเจ้าหน้าที่หน่วยข่าวกรองของสหรัฐคนหนึ่งเผยว่า นายคิมอาจป่วยเป็นโรคเส้นเลือดตีบ
ในส่วนของพิธีเฉลิมฉลองนั้น ทางการเกาหลีเหนือได้จัดพิธีครั้งยิ่งใหญ่อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน โดยขบวนสวนสนามจะยิ่งใหญ่กว่าเดิมทั้งในเรื่องของจำนวนทหาร และอาวุธที่นำมาแสดงแสนยานุภาพ มีทั้งเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องขนาด 240 มิลลิเมตร และปืนต่อสู้อากาศยานขนาด 105 มิลลิเมตรจากฐานทัพอากาศมิริมเข้ามาแสดงด้วย ซึ่งแหล่งข่าวมองว่าเกาหลีเหนืออาจต้องการเสริมแสนยานุภาพทางทหารเพื่อความเป็นปึกแผ่นของประเทศ และคงไว้ซึ่งสถานภาพที่เหนือกว่าในการเจรจาต่อรองเรื่องการปลดอาวุธนิวเคลียร์เกาหลีเหนือที่ยังคงชะงักงันอยู่
ที่ผ่านมา เกาหลีเหนือได้กระตุ้นให้ประชากร 23 ล้านคนร่วมกันทำให้ปี 2551 เป็นปีแห่งการชำระประวัติศาสตร์ เพื่อเตรียมฉลองวาระครบรอบวันคล้ายวันเกิด 100 ปี ของประธานาธิบดีคิม อิล ซุง ผู้ก่อตั้งเกาหลีเหนือ ซึ่งเป็นบิดาของนายคิม จอง อิล แต่โครงการอาหารโลกแห่งสหประชาชาติได้เตือนว่าสถานการณ์ความอดอยากในเกาหลีเหนือรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่เกิดทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในทศวรรษ 90 โดยมีคน 5-6 ล้านคนต้องการอาหารอย่างเร่งด่วน
ทางด้านจีนได้ออกแถลงการณ์แสดงความยกย่องเกาหลีเหนืออย่างเต็มที่ เนื่องในวาระครบรอบ 60 ปีวันสถาปนาประเทศ โดยระบุว่าเกาหลีเหนือประสบความสำเร็จอย่างเห็นได้ชัด แต่ไม่ได้กล่าวถึงเรื่องโครงการนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ
อาร์ตแสงธรรม ชุนชฏาธาร วันนี้เขาคือลูกไม้ใต้ต้นคนตุลา อาร์ต แสงธรรม ชุนชฏาธาร ประธานนักเรียนโรงเรียนสาธิตมัฆวานแห่งมหาวิทยาลัยราชดำเนิน เติบโตมาในครอบครัวนักการเมืองและนักเขียนที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว เพราะแม่ มาลีรัตน์ แก้วก่า อดีต ส.ว.สกลนคร


































































































































































































































































วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2551

สายการบินแดนโสมเจรจานำตัวนักท่องเที่ยวติดค้างในไทยกลับประเทศ


โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์
27 พฤศจิกายน 2551 16:18 น.



ป้ายที่กลุ่มพันธมิตรฯ ติดประกาศไว้ให้ชาวต่างชาติได้รับทราบถึงเหตุผลในการปิดสนามบิน ก็เพื่อต้องการขับไล่รัฐบาลเท่านั้น



เอเอฟพี – กระทรวงการต่างประเทศเกาหลีใต้เผย เจ้าหน้าที่สายการบินแดนโสมกำลังเจรจากับทางการไทยเกี่ยวกับการใช้สนามบินของกองทัพ เพื่อนำตัวนักท่องเที่ยวชาวโสมที่ติดค้างราว 2,000 คน กลับประเทศ โฆษกกระทรวงต่างประเทศของเกาหลีใต้เผยว่า การเจรจาระหว่างทางการไทย และบริษัทสายการบินโคเรียนแอร์ และเอเชียนากำลังดำเนินไป สำนักข่าวยอนฮับรายงานว่า นักท่องเที่ยว ซึ่งหลายคนมาในช่วงฮันนีมูน ได้ที่พักอาศัยจากทางสายการบินของพวกเขาแล้ว หลังจากนักท่องเที่ยวจำนวนมากติดอยู่ในเมืองไทย หลังจากเกิดการชุมนุมประท้วงปิดล้อมสนามบินทั้งที่สุวรรณภูมิ และดอนเมือง สำนักข่าวแดนโสมยังเสริมว่า สายการบินโคเรียนแอร์ และเอเชียนาจำเป็นต้องยกเลิกเที่ยวบินทั้งหมด 6 เที่ยงบินที่จะเดินทางกลับเกาหลีใต้ในวันพุธ (26) ที่ผ่านมา และอีก 4 เที่ยวบินในวันนี้ (27) ด้วย

วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551

เศรษฐกิจเกาหลี(ต่อ)




สรุปช่วง พ.ศ. 2504-2522 รัฐบาลมีนโยบายเศรษฐกิจสำคัญๆ คือ
1.มีการแทรกแซงจากรัฐบาลสูง ภายใต้รัฐบาลเผด็จการ มีการชี้นำทางเศรษฐกิจ และมี
นโยบายควบคุมทางการเมือง
2.ในการเตรียมและใช้นโยบาย มีการประสานงานใกล้ชิดด้านรายละเอียดระหว่างรัฐบาล
(รมต) ผู้นำธุรกิจและเทคโนแครต หรือข้าราชการกระทรวงสำคัญ
3.ใช้นโยบายดอกเบี้ยต่างระดับ ส่งเสริมอุตสาหกรรมเฉพาะสาขาเฉพาะราย
4.รัฐบาลสนับสนุนการซื้อถ่ายโอนเทคโนโลยีมากกว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
และไม่สนับสนุนให้ต่างชาติเข้าเป็นเจ้าของกิจการในประเทศยกเว้นในบางกรณี
ทศวรรษ 2520:
เมื่อถึงปลายทศวรรษ 2510 เศรษฐกิจเกาหลีใต้เปลี่ยนไป คนเกาหลีใต้ทั่วไปเริ่มไม่พอใจ
ระบบการเมืองที่รวมศูนย์อำนาจภายใต้ระบบเผด็จการทหาร และต้องการให้รัฐบาลนำระบบการ
เลือกตั้งตามแนวประชิปไตยมาใช้ ประชาชนจะได้มีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น ในขณะเดียวกัน
เศรษฐกิจโลกก็มีปัญหาอีกครั้งเมื่อราคาน้ำมันพุ่งสูงขึ้นอีก ต้นทศวรรษ 2520 สังคมเกาหลีจึงประสบ
วิกฤตการณ์ 2 ด้าน คือ ทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ
วิกฤตการณ์ทางการเมือง
มีเหตุการณ์สำคัญ 2 ช่วง คือ การลอบสังหารประธานาธิปบดี ผารค ชุง ฮี เมื่อ พ.ศ.2522 และ
การเดินขบวนต่อต้านประธานาธิปบดีคนต่อมาคือ ชุน ดู วาน พ.ศ.2530 จนทำให้ต้องลาออกไป โร
แต้ วู เข้ามาแทนและยอมให้มีการเลือกตั้งประธานาธิปบดีในกรอบประชาธิปไตยในปลายปีนั้น มูล
เหตุให้มีการประท้วงระบอบเผด็จการทหารคือ
1. การเมืองโลกเปลี่ยน
2. สังคมเกาหลีใต้มีความซับซ้อนมากขึ้น ฐานอำนาจกลุ่มใหม่ต้องการการเปลี่ยนแปลง
3. เผด็จการทหารเริ่มเป็นขีดจำกัดต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจ วิกฤต และนโยบาย
เศรษฐกิจเกาหลีใต้เติบโตมากในช่วง พ.ศ. 2519 -2521 หลังจากที่ ผารค ถูกลอบสังหาร เกิด
วิกฤตการณ์ตามมาเมื่อราคาน้ำมันพุ่งสูงอีกครั้ง พ.ศ. 2524 และเศรษฐกิจของประเทศร่ำรวยในยุโรป
และอเมริกาทรุดตัว พ.ศ. 2523 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติของเกาหลีใต้ลดลงถึงร้อยละ 5 ดุลบัญชีเดิน
สะพัดขาดดุลเพิ่มขึ้น ระหว่าง พ.ศ.2524-2526 ถึงกระนั้นก็สามารถเจริญเติบโตในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 7
เกาหลีใต้ฉุดตัวออกจากปัญหาดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ลดอัตราเงินเฟ้อและสามารถเพิ่มค่าจ้างจริง
ได้ร้อยละ 5 ต่อปี
มีปัจจัยช่วยจากภายนอกคือ การที่ค่าเงินสหรัฐฯสูงขึ้น หลัง พ.ศ. 2522 แต่เงินวอนมีค่าต่ำลง
ทำให้สินค้าที่ขายมีราคต่ำ การส่งออกจึงเพิ่มขึ้นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็มีการใช้สินค้านำเข้าอย่าง
ประหยัด มีมาตรการลดการใช้น้ำมันอย่างเคร่งครัดจนได้ผล ดังนั้นเมื่อราคาน้ำมันเริ่มลดลงหลังพ.ศ.
2524 และอยู่ในระดับค่อนข้างคงที่ระหว่าง พ.ศ. 2524-2527 เกาหลีใต้จึงได้ประโยชน์จากการส่งออก
และจากการที่อัตราการค้าระหว่างประเทศ (international term of trade) ดีขึ้น (ราคาสินค้าเข้าโดย
เฉลี่ยต่ำกว่าราคาสินค้าออกโดยเฉลี่ย ท่ำให้อัตราการค้าของราคาสินค้าออกต่อราคาสินค้าเข้าสูงขึ้น)
วิเคราะห์ตามแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจช่วงที่ 2
- ลักษณะอุตสาหกรรมในประเทศเริ่มเจริญเติบโต มีการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจให้เป็น
การส่งออกมากขึ้น
- โดยรัฐบาลเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งในด้านปฏิรูประบบการ
เงิน สร้างสถาบันการเงินให้เข้มแข็ง เพื่อระดมเงินออมภายในประเทศ ประกอบกับวางแผน
นโยบายให้มีความยืดหยุ่นเพื่อดึงดูดเงินทุนจากต่างประเทศ
- ลักษณะของภาคเกษตรกรรมของเกาหลีใต้ ลดบทบาทลงมาก คือมีการเพิ่มค่าจ้างเพื่อดึง
คนงานออกจากภาคเกษตร ซึ่งราคาสินค้าเกษตรเริ่มตกต่ำลงเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าอุตสาหกรรม
ดังนั้นรัฐบาลจึงแทรกแซงตลาดค้าข้าว และปัจจัยการผลิตทางด้านการเกษตร
- ส่วนทางด้านแรงงานเนื่องจากค่าจ้างแรงงานในภาคเกษตรต่ำกว่าภาคอุตสาหกรรม และยัง
มีแรงงานส่วนเกินเหลืออยู่ ภาครัฐมีการส่งเสริมให้คนงานและนายจ้างเข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมรัก
ชาติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รัฐบาลควบคุมสหภาพแรงงานแข็งขัน ทำให้ตลาดแรงงานตื่นตัว
สหภาพแรงงานเริ่มเข้มแข็ง ทำให้ค่าจ้างแรงงานเพิ่ม


3.ช่วงที่ 3 เปิดเสรี – ปัจจุบัน
ปัจจัยด้านนโยบายของรัฐบาล มีการถกเถียงกันระหว่างนักวิเคราะห์เศรษฐกิจเกาหลีใต้ว่า
การฟื้นตัวอย่างรวดร็วของเกาหลีใต้หลัง พ.ศ. 2522-2523 นั้นเป็นผลจากอะไร ธนาคารโลกชี้ไปที่
นโยบายเปิดเสรี (Liberalization) ของรัฐบาล นักเศรษฐศาสตร์บางคนชี้ไปที่การแทรกแซงของรัฐ
บาลที่เหมาะสม
อลิศ แอมสเด็น เน้นให้ความสำคัญกับนโยบายช่วง พ.ศ. 2522-2525 ซึ่งมีสาระคือ
1.รัฐบาลเพิ่มการลงทุนภาครัฐบาลในช่วงที่การลงทุนของเอกชนลดลง เงินลงทุนนี้ส่วน
ใหญ่มาจากเงินกู้ต่างประเทศ
2.รัฐบาลใช้นโยบายลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อช่วยธุรกิจที่กำลังประสบปัญหาอุปสงค์ที่ลดลง
3.รัฐบาลส่งเสริมให้ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อย ที่กำลังจะล้มละลายได้รวมเข้าด้วยกัน
( Merger ) เป็นบริษัทเดียวเพื่อลดต้นทุนการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการบริหารแบบใหม่
การจัดองค์กรใหม่ พ.ศ.2529 ส่งเสริมให้ธุรกิจอุตสาหกรรมหลายประเภทรวมกันจัดองค์กรใหม่
เพื่อให้แข่งขันได้ดีขึ้นกับต่างประเทศ ได้แก่อุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่องปั่นไฟ และเครื่องจักรดีเซ ล
การส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มีลักษณะเป็นอัตโนมัติมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้น
ทุนด้านแรงงานในขณะที่ตลาดแรงงานตึงตัวขึ้นแล้วทั้งนี้เทคนิคใหม่ๆ นี้เป็นสิ่งที่ประเทศญี่ปุ่นและ
ประเทศอื่นๆ เช่น สิงคโปร์ก็นำมาใช้ด้วยเหมือนกัน
แต่สิ่งที่แอมสเด็นเน้นเป็นเพียงภาพบางส่วนของนโยบายเศรษฐกิจทั้งหมดนอกจากที่กล่าว
มาแล้ว เกาหลีใต้ยังดำเนินนโยบายเสรีตามข้อตกลงกับ IMF เป็นการตอบแทนที่ IMF เข้ามาช่วยให้กู้
เงินเพื่อลดปัญหาดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล
มาตรการที่มีนโยบายเปิดเสรีนั้นก็คือ
1. พ.ศ.2524 ออกกฎหมายต่อต้านการผูกขาดเพื่อส่งเสริมการแข่งขัน
2. พ.ศ.2525 ยกเลิกการให้ดอกเบี้ยราคาถูกเพื่อช่วยการส่งออก
3. พ.ศ.2527 ลดหย่อนการควบคุม การลงทุนจากต่างประเทศ
4. พ.ศ.2527 เริ่มแปรรูปธนาคารที่เป็นของรัฐ แต่ใครจะได้เงินกู้เท่าไรในอัตราดอกเบี้ยเท่าไรยัง
คงอยู่ในวิจารญาณของรัฐบาลเกาหลีใต้ นอกจากนี้พวกแชโบลส์ คือบริษัทท้องถิ่นขนาดใหญ่ก็ซื้อ
หุ้นธนาคารกันจำนวนมาก ดังนั้นการเปิดเสรีระบบธนาคารจึงนำไปสู่การกระจุกตัวของการเป็นเจ้า
ของจากเอกชน
แอมสเด็นได้เสนอว่านโยบายเปิดเสรีเป็นสิ่งที่รัฐบาลทำ แต่จริงๆแล้วมีผลน้อยแม้
ธนาคารโลกจะพยายามโฆษณาว่า นโยบายเสรีแก้ปัญหาเศรษฐกิจเกาหลีใต้ แต่ใน พ.ศ.2530 ก็ยอม
รับว่า ที่ว่าการเปิดเสรีเกิดขึ้นแพร่หลายนั้นจริงๆแล้วไม่แน่นักวิจัยเศรษฐศาสตร์เกาหลีไม่เห็นพ้องกัน
คือไม่เห็นตาม World Bank แม้มีกฎหมายต่อต้านการผูกขาด พ.ศ.2524 ก็ยังแสดงความเป็นห่วงว่า
แทนที่จะลดการผูกขาดกลับเพิ่มการผูกขาด


ประเด็นที่ทำให้เกาหลีใต้ฟื้นตัวเร็วจริงแล้ว คือการที่ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯสูงขึ้นทำให้สิน
ค้าออกของเกาหลีใต้ถูกลง และเกาหลีใต้คงได้ประโยชน์สะสมจากประสบการณ์ที่มีมาประกอบกับ
รัฐบาลดำเนินนโยบายการคลังพอเหมาะ เพิ่มการใช้จ่ายในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ พ.ศ.2522-2525 เมื่อ
ส่งออกเพิ่มทำให้ภาระหนี้ลดลงรวดเร็วและรัฐบาลสามารถลดภาวะเงินเฟ้อด้วย
การกู้ยืมและลงทุนต่างประเทศ
นักลงทุนเอกชนเริ่มย้ายการลงทุนจากอุตสาหกรรมที่ต้นทุนสูง เช่น อุตสาหกรรมรองเท้า
เสื้อผ้ามาไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เมื่อถึงกลางทศวรรษ 2520 นับว่า เกาหลีใต้เปลี่ยน
สถานภาพเป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีอุตสาหกรรมเหล็กซึ่งแข่งขันในตลาดโลกได้ มีอุตสาหกรรมอี
เล็กทรอนิกส์ ซึ่งขายทั่วโลกแข่งกับญี่ปุ่น และมีการวิจัยและพัฒนาของตนเอง เกาหลีใต้ผันจากที่
เคยได้เปรียบเพราะมีแรงงานไร้ฝีมือราคาถูก เป็นได้เปรียบเพราะมีแรงงานมีฝีมือราคาถูก
บทบาทธุรกิจขนาดใหญ่ (chaebols)และความสัมพันธ์กับรัฐบาล
การศึกษาเรื่องพัฒนาการอตุสาหกรรมของเกาหลีใต้ จะสมบูรณ์ไปไม่ได้ถ้าไม่ได้พิจารณาถึง
บทบาทความสำคัญท้องถิ่นขนาดใหญ่ที่เรียกว่า แชโบลส์ อุน มี กิม ( Eun Mee kim ) นักวิเคราะห์
ชาวเกาหลีเสนอว่า ประสบการณ์เป็นอุตสาหกรรมเป็นผลสำเร็จของเกาหลีใต้ ช่วงพ.ศ.2513-2533
เป็นจากการร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลกับบริษัทธุรกิจขนาดใหญ่ของท้องถิ่น หรือ แชโบลส์รัฐของ
เกาหลีใต้ในช่วงนี้มีลักษณะเป็นรัฐที่มุ่งเน้นการพัฒนา (developmental state) แชโบลส์ที่สำคัญๆ
ประกอบด้วยธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็นบริษัทข้ามชาติด้วย เช่น ฮุนได ซัมซุง แดวู ลักกี้ โกลส
ตาร์ รัฐบาลให้การสนับสนุนแชโบลส์ โดยให้เครดิตราคาถูก และอาจให้เงินอุดหนุนช่วยลดต้นทุน
การผลิตในกรณีสามารถส่งสินค้าออกได้ตามเป้าหมายที่รัฐบาลกำหนด นอกจากนี้ รัฐบาลช่วยแช
โลส์โดยควบคุมแรงงานมิให้เรียกร้องค่าแรง อันจะส่งผลให้ต้นทุนทางด้านแรงงานของธุรกิจสูงขึ้น
และมีการออกกฎหมายแรงงานที่เข้านายจ้างมากกว่าลูกจ้าง แชโบลส์เหล่านี้มีขนาดใหญ่โตมาก
และจ้างงานจำนวนมาก พ.ศ.2530 แชโบลส์ขนาดใหญ่สุด10แห่งของเกาหลีใต้ ผลิตสินค้าคิดเป็น
ร้อยละ 28.2 ของผลผลิตหัตถอุตสาหกรรมทั้งหมดของประเทศ จ้างคนงานคิดเป็นร้อยละ 12 ของคน
งานหัตถอุตสาหกรรมทั้งหมด แชโลส์รายใหญ่ๆจะเป็นผู้ผูกขาดอุตสาหกรรมเครื่องจักรและ
เทคโนโลยีการผลิต แชโบลส์ใหญ่สุด 5 รายควบคุมการผลิตร้อยละ 40 ของสินค้าต่อไปนี้คือ ผลิต
ภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและเครื่องมือต่างๆ แชโบลส์ใหญ่สุด 30 แห่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 30 ของมูล
ค่าเพิ่มในภาคหัตถอุตสาหกรรมเมื่อพ.ศ.2537 แชโบลส์ผลิตสินค้าหัตถอุตสาหกรรมและบริการมาก
ชนิด แชโบลส์ขนาดใหญ่ทำธุรกิจหลายประเภทจึงมีลักษณะเป็นบริษัทข้ามชาติ


อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาล แชโบลส์ และกลุ่มผู้ใช้แรงงานก็มิใช่เป็นความ
สัมพันธ์ตายตัว มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงด้วย พ.ศ.2503-2513 รัฐบาลเป็นฝ่ายควบคุม แช
โบลส์และช่วยพัฒนาให้พวกเขาใหญ่โตขึ้น ช่วงนี้รัฐบาลควบคุมแรงงานเพื่อช่วยแชโบลส์
ช่วงพ.ศ.2513-2523 แชโบลส์ขนาดใหญ่ที่ต้องการลงทุนอุตสาหกรรมหนัก ( เหล็ก และเคมี ) ใกล้ชิด
กับรัฐบาลมากว่าแชโบลส์อื่นๆ และรัฐบาลเองก็ต้องการสนับสนุนการลงทุนอุตสาหกรรมหนักด้วย
ตลอดช่วงระยะนี้รัฐบาลก็ยังดำเนินนโยบายควบคุมแรงงาน เมื่อถึงพ.ศ.2523 ความสัมพันธ์อันแนบ
แน่นระหว่างรัฐบาลและแชโบลส์ขนาดใหญ่ หมายความว่าแชโบลส์สามารถส่งอิทธิพลให้รัฐบาลให้
เงินอุดหนุนพวกเขา หรือลดหย่อนภาษีให้มากขึ้นๆ จนในช่วงนี้ความสัมพันธ์กลับกลายเป็นว่า
แชโบลส์มีอำนาจเหนือรัฐบาล ผลก็คือเมื่อแชโบลส์ยิ่งใหญ่ขึ้นและต้องการการอุดหนุนจากรัฐบาล
มากขึ้น ก็แย่งชิ่งทรัพยากรที่รัฐบาลมีอยู่ทำให้รัฐบาลลงทุนด้านประกันสังคม และสวัสดิการสังคมลด
ลง รวมทั้งการลงทุนทางด้านการวิจัยและการพัฒนาก็ถูกผลกระทบไปด้วย อิทธิพลของแชโบลส์
เหนือรัฐบาลมีมากช่วงหลังพ.ศ.2523 จนเป็นที่กล่าวขานกันว่าพวกเขามีฐานะเป็นสาธารณะรัฐ
แชโบลส์ ( Chaebols Republic ) ณ จุดนี้อิทธิพลของแชโบลส์เหนือรัฐบาลนำไปสู่ภาวะที่รัฐบาลยิ่ง
ขัดแย้งกับผู้ใช้แรงงาน และรัฐบาลต้านทานแรงกดดันจากสาธารณชนให้ปรับเปลี่ยนระบบการปก
ครองจากเผด็จการเป็นระบบประชาธิปไตย จนความขัดแย้งนี้ในท้ายที่สุดลุกลามเป็นการเดินขบวน
ประทว้งเมื่อพ.ศ.2530 จนต้องมีการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบการเมืองเกิดขึ้น
สำหรับสถานการณ์ช่วงทศวรรษ 2530 นั้น นักวิเคราะห์เกาหลีใต้ มีความเห็นว่าแชโบลส์
ขนาดใหญ่จะต้องลดบทบาทลง และปรับความสัมพันธ์กับรัฐบาลให้เอื้อกับการพัฒนาธุรกิจขนาด
ย่อมและพัฒนาการระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ในทางทฤษฎีมีการอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองว่าเป็นผลจากเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจ
ทฤษฎีความทันสมัย ( Modernisation ) ยอมรับว่าการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไปสู่ความ
เป็นอุตสาหกรรมก่อให้เกิดกลุ่มสังคมใหม่ๆ ที่ต้องการมีสิทธิมีเสียงในการปกครองประเทศ ( ชนชั้น
กลาง นายธนาคาร คนงานนั่งโต๊ะ ผู้ใช้แรงงาน ชาวนากลางและรวย ) แต่นักทฤษฎีกลุ่มนี้เสนอว่า
หากดูประสบการณ์ประเทศพัฒนาแล้ว จะเห็นได้ว่าแนวโน้มจะมีการปรับเปลี่ยนระบบการเมืองเป็น
ประชาธิปไตยมากขึ้น
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงสังคมแนวมาร์กซิสม์ดั้งเดิม ( Orthodox Marxist ) อธิบายถึงชนชั้น
ที่ขัดแย้งกันคือทุนและแรงงานว่านำไปสู่การปฎิวัติคนงาน
มีทฤษฎีแตกย่อยที่อธิบายปรากฎการณ์การคงอยู่ของเผด็จการ ทำให้ไม่มีการปฎิวัติจากชน
ชั้นล่าง โดยให้เหตุผลว่าเกิดจาดสถานการณ์ต่อไปนี้
1 ) นายทุนไม่เป็นใหญ่ นายทุนเกรงกลัวปัญหาการลุกฮือของชาวนา คนงาน จึงยืมมือทหาร
คุมชาวนาและคนงานโดยระบบเผด็จการ จนกว่าจะมั่นใจว่าชาวนาและคนงานจะไม่ต่อต้านพวกตน
จึงจะยอมให้ทหารลดบทบาทลง
2 ) นายทุนแข็งเก่รงและมั่นใจ จึงตั้งพรรคการเมืองลดบทบาททหาร เข้ากุมกระบวนการตัด
สินใจตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อทุนนิยมพัฒนามากๆก็มั่นใจมากจนยอมให้มีพรรคการเมืองหลากหลาย
3 ) แต่อาจมีการพยายามตั้งระบบบรรษัทนิยม ( Corporatism ) โดยรับเป็นตัวควบคุมกลุ่ม
สำคัญ คือ นายทุนและแรงงาน
4 ) พลังสังคมอันหลากหลายก็มีอยู่ เกิดเป็นแรงต้านบรรษัทนิยม
5)แนวคิดการก่อตัวของชนชั้นและความขัดแย้งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอาจไม่จำเป็นต้อง
เหมือนที่มาร์กซ์วิเคราะห์ไว้ การก่อเกิดชนชั้นที่อาจจะหลากหลาย ความขัดแย้งนำไปสู่การมียุทธวิธี
เผชิญหน้ากัน หรือสร้างพันธมิตรระหว่างกันเพื่อลดทอนอำนาจของฝ่ายตรงข้าม ระบบการเมืองเปิด
นำไปสู่การต้องเข้าใจพลังที่สร้างพันธมิตร หรือเผชิญหน้ากรอบประชาธิปไตยหรือการเมืองเปิดช่วย
ให้เห็นการเปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนขึ้น
ประชาธิปไตยอาจมีหลายรูปแบบ การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจสำคัญในแง่เป็นตัวแปรนำไปสู่
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้
ในเกาหลีใต้การเปลี่ยนแปลงไปเป็นประเทศอุตสาหกรรม ทำให้เกิดคนกลุ่มใหม่ๆที่มีอิสระ
จากระบบราชการ คนกลุ่มใหม่คือนักลงทุน นักวิชาชีพ คนงานมีการศึกษาระดับสูงที่กินเงินเดือน
ประจำ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้ชาวนาเป็นคนส่วนน้อย
ในกรณีของเกาหลีใต้การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ก็ได้นำไปสู่การเรียกร้องให้
เปลี่ยนระบบการปกครองจากระบบรวบรวมศูนย์อำนาจมาเป็นระบบประชาธิปไตยเพื่อให้ประชาชน
มีสิทธิมีเสียงเลือกตั้ง
ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีใต้มีระบบเผด็จการทหารมาโดยตลอดและมีการใช้
ยุทธวิธีคือ รัฐบาลก่อตั้งกลุ่มคนงานและสนับสนุนธุรกิจเป็นพรรคพวก โดยสหรัฐฯสนับสนุนอยู่
เบื้องหลังจนเมื่อ ผารค ชุง ฮี ถูกรอบสังหารก็มีรัฐประหารอีกรอบคือเมื่อ ชุน ดู วาน ขึ้นมาเป็น
ประธานาธิบดีในพ.ศ.2520 เขาไม่ได้ผ่านการเลือกตั้งทั่วไป แต่ได้รับการเลือกตั้งจากสภานิติบัญญัติ
ซึ่งมีประธานาธิบดีแต่งตั้งขึ้น ประชาชนนำโดยนักศึกษา คนงาน พรรคฝ่ายค้าน เรียกร้องให้มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองมาโดยตลอดในทศวรรษ 2520 แต่ ชุน ดู วาน ก็ดึงดันและประกาศจะใช้วิธี
แต่งตั้งประธานาธิบดีเมื่อตัวเขาเองจะสิ้นสุดอายุการเป็นประธานาธิบดี ในพ.ศ.2530 ประชาชนไม่พอ
ใจมาก ออกมาเดินขบวนเหมือนพฤษภาคม พ.ศ.2535 ของไทย รัฐบาลใช้มาตรการรุนแรงนำไปสู่
ความวุ่นวายมากทำให้ ชุน ดู วาน ต้องลาออกไปและโร แต้ วู ประธานพรรครัฐบาลออกมายอมรับจะ
ให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีในปลายพ.ศ.2530 หลังจากนั้นก็ได้เห็นกระบวนการเรียกร้อง
ประชาธิปไตยในเกาหลีใต้ รวมทั้งการรวมตัวของคนงานต่อต้านการที่รัฐบาลตั้งกลุ่มคนงานของรัฐ
บาลมาต่อต้านการรวมตัวเป็นสหภาพของคนงานทั่วไป
การพัฒนาเศรษฐกิจหลังเกิดวิกฤตการเงินในเอเชีย
ตั้งแต่มีการทบทวนนโยบายการค้าครั้งล่าสุดเกาหลีมีความพยายามที่จะทำให้เศรษฐกิจของ
ประเทศฟื้นตัว หลังจากเกิด วิกฤตการเงินเอเชีย ซึ่งในช่วงเวลาเดียวกันมีเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในระยะสั้น โดยมีแผนพัฒนาใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ
รวมถึงเศรษฐกิจโดยรวมเริ่มซบเซาลงในช่วงครึ่งหลังของปี 2543 โดยมีหนี้สินของภาคครัวเรือนเพิ่ม
ขึ้น เกิดปัญหาในเรื่องการส่งออกและเรื่องการปฏิรูปโครงสร้างพื้นที่ เบื้องหลังการเติบโตของเกาหลี
มาจากการขับเคลื่อนด้วยเครื่องจักร นั่นแสดงให้เห็นว่าเกาหลีมีความพร้อมทางเศรษฐกิจที่จะก้าว
กระโดดขึ้นไปอยู่ในระดับสูงของการเจริญเติบโต
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจภายในประเทศ
หลังจากเกิดวิกฤตทางการเงินในเอเชีย ปี 2540 และความซบเซาของธุรกิจในปี 2541 ได้มี
นโยบายในการทำให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ รวมทั้งได้มีการปรับปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
อย่างกว้างๆจากความเห็นชอบของหลายๆฝ่าย ทำให้ได้รับความช่วยเหลือในการกู้เป็นอย่างดี
แม้ว่าภาวะเศรษฐกิจโลกจะเริ่มชะลอตัวลงในช่วงครึ่งหลังของปี 2543 แต่สภาพทาง
เศรษฐกิจของเกาหลีก็ยังมีศักยภาพในระดับที่ดีอยู่ ซึ่งในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของเศรษฐกิจโลกที่กำลัง
ชะลอตัวลง รัฐบาลใช้นโยบายกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศ และธนาคารเกาหลีเริ่มทำตามนโยบาย
โดยการลดอัตราดอกเบี้ยลงในเดือนกรกฎาคม ปี 2546 จากการที่ความต้องการภายในประเทศเพิ่มขึ้น
และศักยภาพการส่งออกที่เข้มแข็ง เป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้เศรษฐกิจเกาหลีมีการเติบโตขึ้นแบบก้าว
กระโดดถึง 7.1% ในปี 2545 ขณะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงดำเนินต่อไปแบบชะลอตัว
การกระตุ้นของอุปสงค์ในช่วงครึ่งหลังของปี 2544 ทำให้เกิดหนี้สินทางการเงิน เป็นสาเหตุ
หลักในการสะสมของหนี้ที่มากขึ้นในภาคครัวเรือน ซึ่งตรงกันข้ามกับภาคเอกชนที่มีสัดส่วนหนี้ที่มี
เสถียรภาพหลังจากที่มีความพยายามในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการดำเนินงานของเอกชน อย่าง
เข้มงวดตามภาวะเศรษฐกิจ ต่อมาในปี 2543 อัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจเกาหลีลดลง 3.1%
ซึ่งหนี้ภาคครัวเรือนแฝงตัวอยู่กับการเจริญเติบโตในส่วนของการบริโภค ขณะที่การลงทุนมีแนวโน้ม
ซบเซาลงท่ามกลางความไม่แน่นอนระหว่างประเทศ
ภายใต้การทบทวนในระยะเวลาเดียวกัน อัตราเงินเฟ้อไม่รุนแรงนักและอัตราแลกเปลี่ยนต่าง
ประเทศค่อนข้างมีเสถียรภาพ แต่มีอัตราการจ้างงานเพิ่มมากขึ้นในปี 2546 ต่อมาในปี 2547 เกิดเสถียร
ภาพทางเศรษฐกิจมากขึ้น และเศรษฐกิจทั่วโลกได้กลับคืนสู่สภาพเดิมทำให้ความต้องการของผู้
บริโภคเพิ่มขึ้น โดยนักธุรกิจเกาหลีคาดหวังกับอัตราการเติบโตอันใกล้ให้เพิ่มมากกว่า 5% ซึ่งไตร
มาสแรกของปี 2547 เศรษฐกิจของเกาหลีเติบโตมากกว่า 5.3% เมื่อเทียบจากช่วงเวลาเดียวกันในปี
ก่อน โดยมีบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ทำให้ความต้องการภายในประเทศมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นหมายถึงการ
บริโภคและการลงทุนในภาคเอกชนสามารถช่วยให้สภาพทางเศรษฐกิจเกิดความมีเสถียรภาพมากขึ้น
การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศ
ระหว่างที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัว ในไตรมาสที่สองของปี 2543 การส่งออกของเกาหลีมี
จำนวนลดลง 12.7% ( $ 150.4 พันล้าน ) ในปี 2001 ซึ่งสวนทางกับปีก่อนที่เพิ่มขึ้น 19.9% ( $ 172.3
พันล้าน ) ปี 2543 การนำเข้า 34% เป็น $ 160.5 พันล้าน ซึ่งเพียงพอกับความต้องการภายในประเทศ
นับเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ตื่นตัวได้ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2543 และราคาน้ำมันในต่าง
ประเทศมีการเคลื่อนไหว โดยในปี 2544 การนำเข้าได้หยุดอยู่ที่ 12.1% ( $ 141.1 พันล้าน ) ดังตาราง
ที่ 1

ตารางที่ 1 Korea Trade Statistics (US$ million)

ที่มา : Korea International Trade Association; Bank of Korea.
ในปี 2545 การส่งออกไปยังจีนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย และประเทศพัฒนาแล้วทำให้การส่งออกเติบ
โตขึ้นถึง 8% เป็นเงินทั้งสิ้น $ 162.5 พันล้าน โดยแนวโน้มการส่งออกแข็งแกร่งขึ้นในปี 2546 เพิ่มขึ้น
19.3% เป็นเงิน $ 193.8 พันล้าน การนำเข้าเพิ่มขึ้น 7.8% เป็น $ 152.1 พันล้านในปี 2545 และเพิ่มขึ้น
12.6% เป็น 178.8 พันล้านในปี 2546 การเพิ่มขึ้นนี้ทำให้บัญชีมีการเคลื่อนไหวในด้านการนำเข้าวัตถุ
ดิบและเชื้อเพลิงเท่ากับผลการขยายตัวของการส่งออกประกอบกับราคาน้ำมันและราคาวัตถุดิบโลก
สูงขึ้น


บัญชีดุลการค้าเกินดุลระหว่างปี 2541 สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงปีต่อปี ใน
ปี 2541 ดุลการค้าลดลงเป็น $ 8 พันล้านระหว่างที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง การส่งออกมีอัตราลดลง
มากกว่าการนำเข้าสำหรับประเทศเกาหลี ขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดลดลงในปี 2545 ดุลการค้าได้ถูก
กระตุ้นด้วยการส่งออกที่เข้มแข็ง ผลคือ ทำให้บัญชีเดินสะพัดเกินดุล $ 12 พันล้านในปี 2546
ตั้งแต่ปี 2543 รายการสินค้าส่งออกสำคัญของเกาหลี คือ รถยนต์ เซมิคอนดักเตอร์
คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์มือถือ โดยรถยนต์และโทรศัพท์มือถือทำให้ส่วนแบ่งของมูลค่าการส่ง
ออกเพิ่มขึ้น ขณะที่ส่วนแบ่งของเซมิคอนดักเตอร์ได้ลดจำนวนลงอย่างกะทันหันในปี 2544 และราย
การนำเข้าสำคัญ คือ วัตถุดิบรวมกับน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และเซมิคอนดักเตอร์ ส่วนแบ่งของน้ำ
มันดิบที่เคยนำเข้าเป็นจำนวนมากได้ลดจำนวนลงเป็น 12.9% ในปี 2546 จากเดิมนำเข้า 15.7% ในปี
2543 แสดงได้ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 Trade of Major Products (%)



ที่มา : Korea International Trade Association
ประเทศคู่ค้าหลักของเกาหลี ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน และยุโรป การส่งออกมีอัตราเพิ่มขึ้น
อย่างสม่ำเสมอหลังปี 2544 สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดคู่ค้าสำคัญของเกาหลี แต่เกาหลีส่งสินค้าออกไป
ยังประเทศจีนมากกว่าสหรัฐอเมริกา

หลังจากเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินในปี 2540 รัฐบาลเกาหลีได้จัดทำนโยบายเปิดเสรี และได้
สร้างบรรยากาศการลงทุน โดยมีการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจที่มีชื่อเสียงในอดีตและการข้ามชายแดน
MQAs ซึ่งเป็นการสร้างโอกาสให้ FDI เข้ามาในประเทศเกาหลี ในช่วงปี 2542 และปี 2543 FDI ได้
ลดจำนวนลงเพราะภาวะชะงักงันของเศรษฐกิจโลก และในปี 2544 FDI ได้หยุดการไหลเข้าเกาหลี
เพราะนักลงทุนเกาหลีได้เปลี่ยนแปลงทิศทางการลงทุนไปยังประเทศจีน
การเปิดเสรีตลอดจนการปฏิรูปภายในประเทศ
มีการพึ่งพาการปฏิรูปโครงสร้างทางด้านการเงิน บริษัท แรงงาน และภาคสาธารณะ ตั้งแต่
ครั้งวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย รัฐบาลเกาหลีขณะนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะปฏิรูปและเปิดเสรี เพื่อ
เป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเกาหลีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะ
เป็นการเพิ่มศักยภาพการเติบโตของประเทศเกาหลี คือมีการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม มีการพัฒนาด้าน
R&D และด้านเทคโนโลยี ขณะเดียวกันก็ได้มีการกระจายการพัฒนาไปยังพื้นที่ต่างๆ ทำให้โครง
สร้างเศรษฐกิจเกาหลีก้าวหน้าขึ้น สิ่งเหล่านี้เองที่เป็นแรงผลักดันให้ประเทศเกาหลีกลายมาเป็นศูนย์
กลางธุรกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ และมีบทบาทในการสนับสนุนสันติภาพและความสำเร็จใน
ดินแดนแถบนี้ รัฐบาลพยายามที่จะทำให้ระบบการเงินแข็งแรงขึ้น และโครงสร้างทางการปกครอง
เป็นไปอย่างโปร่งใส โดยรัฐสนับสนุนโครงสร้างทางวัฒนธรรมในการจัดการด้านแรงงานให้มีความ
ยืดหยุ่นมากขึ้น ตลอดจนมีความมั่นคงในตลาดแรงงาน และนอกเหนือจากนี้ การปฏิรูปการควบคุม
และการเปิดเสรีการลงทุนจากต่างชาติ เป็นส่วนสำคัญในการชักจูงให้แต่ละส่วนของภาครัฐพยายาม
ทำธุรกิจ
1. การปฏิรูปด้านโครงสร้าง
ภาคการเงิน
กระบวนการปฏิรูปทางด้านการเงินมุ่งเน้นไปที่โครงสร้างเบื้องต้นของธนาคาร เพราะว่า
วิกฤติการณ์ทางการเงินของเอเชียเกิดจากการธนาคารที่ด้อยพัฒนา โดยจำนวนธนาคารพาณิชย์
(commercial bank) ของเกาหลีลดลงจาก 33 แห่งในปลายปี 2541 เหลือ 19 แห่งในปลายปี 2003 และ
ธนาคารพาณิชย์เอกชน ( merchant bank ) ลดจำนวนลงจาก 30 แห่ง เหลือ 2 แห่ง ในช่วงเวลาเดียวกัน
การจัดการของธนาคารที่ต้องเน้นความสำคัญมากขึ้นคือในเรื่องความสามารถในการทำกำไร และการ
จัดการความเสี่ยง เพื่อลดความสูญเสียที่ไม่คาดคิด โดยกลยุทธ์การจัดการใหม่ของเกาหลีจะช่วยให้
ฐานะทางการเงินดีขึ้น โดยใช้อัตราส่วน ROA , ROE , BIS และ NPL ในการวัดระดับ
ธนาคารต่างชาติได้รับอนุญาตให้เปิดสาขาย่อยในเกาหลีได้ด้วยความยินยอมจาก Financial
Supervisory Commission (FSC) โดยมีธนาคารสาขาย่อยจากต่างชาติ 39 แห่งที่ดำเนินการในเกาหลี
จากสาขาย่อยทั้งหมด 65 แห่ง ขณะที่ภาคธนาคารแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการทำกำไรได้ดี
ขึ้น แต่ภาคการเงินกลับมีกำไรลดลงและเกิดหนี้สิน โดยอุตสาหกรรมเครดิตการ์ดมีหนี้สูงถึง 10,474
พันล้านวอน ( $ 8.7 พันล้าน) ภาครัฐจำเป็นต้องวางแผนในการแนะแนวทาง เพื่อป้องกันการเกิดสัด
ส่วนการค้างชำระหนี้ของบริษัทเครดิตการ์ด ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นคงทางการเงินที่มากขึ้น
ภาคธุรกิจ
จากการปฏิรูปภาคการเงิน รัฐบาลเกาหลีก็ได้ปรับปรุงโครงสร้างภาคบริษัท ควบคู่ไปด้วย
วัตถุประสงค์หนึ่งก็เพื่อปกป้องสถาบันการเงินจากการสะสมของสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน การล้ม
ละลายเป็นการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาในการชำระหนี้สิน และการกู้คืนชื่อเสียงสำหรับบริษัทที่
ประสบปัญหา ในขณะเดียวกันบริษัทการจัดการสินทรัพย์ของเกาหลี(KAMCO) มีบทบาทสำคัญใน
การทำให้การชำระหนี้สินง่ายขึ้น และภาครัฐมีการจัดตั้งระบบการปรับปรุงโครงสร้างอย่างรุดหน้า
โดยประกาศใช้การสนับสนุนการปรับปรุงโครงสร้างบริษัทในปี 2544 ภายใต้ระบบดังกล่าวเจ้าหนี้ผู้
ให้เครดิตด้านการเงินต้องเผชิญกับความเสี่ยงจากบริษัทผู้เป็นลูกหนี้
จากนโยบายการค้าการปฏิรูปบริษัทจะมุ่งเน้นไปที่การโปร่งใสของการจัดการบริษัท และ
ความสัมพันธ์ภายในกลุ่มและความมั่นคงของผู้ถือหุ้นสำหรับความรับผิดชอบในการจัดการและการ
ควบคุม
ภาคแรงงาน
หลังจากวิกฤตการณ์ทางการเงินของเอเชีย รัฐบาลของเกาหลีไม่ได้ผ่อนปรนการบังคับ คือ
อนุญาตให้มีการเปลี่ยนแปลงโดยมีความยืดหยุ่นในตลาดแรงงาน และในขณะเดียวกันมีการรายงาน
ถึงการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของความปลอดภัย การประกันสุขภาพ และการให้เงินบำนาญมีการขยาย
เพิ่มขึ้นใน 2546 รวมถึงมาตรฐานแรงงานที่ได้ปรับปรุงในเดือนกันยายน 2546 โดยลดชั่วโมงการ
ทำงานต่อสัปดาห์จาก 44 เป็น 40 ชั่วโมง กฎหมายใหม่พิจารณาในเรื่องการทำงานให้ปรับปรุงตาม
ชนิดของอุตสาหกรรมและขนาดของที่ทำงาน
ในเดือนกันยายน 2546 รัฐบาลได้ประกาศถึงการปฏิรูปโรงงานอุตสาหกรรมโดยมีวัตถุ
ประสงค์ 3 อย่างในการปฏิรูปคือ ลดต้นทุนทางด้านสังคม ตระหนักถึงตลาดแรงงาน ซึ่งมีความขัด
แย้งระหว่างความยืดหยุ่นและความมั่นคง และการที่สังคมพยายามจะปกป้องคนงานที่อ่อนแอ
นโยบายที่สำคัญของรัฐบาลที่จะต้องมาก่อนโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับวัยรุ่นประกอบไปด้วย
แรงงาน การจัดการ และตัวแทนของรัฐบาล ซึ่งโดยสรุปแล้วก็คือปรับปรุงโอกาสในเรื่องของการ
ทำงาน โดยสหภาพแรงงานมีความเห็นว่าควรจะร่วมมือกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและไม่ทำสัญญาที่
ผิดกฎหมายรวมถึงเรื่องความโปร่งใสในการจัดการด้วย
ภาคสาธารณะ
เมื่อเร็วๆนี้ รัฐบาลเกาหลีได้มีการบวนการปฏิรูปผู้ประกอบการ(SOEs) ในระยะสั้นโดย
SOEs ได้ปรับปรุงคุณภาพการบริการของพวกเขาโดยลดราคาสำหรับผู้บริโภคและเพิ่มกำไรโดยใช้
นวัตกรรมใหม่ๆ ซึ่งอุตสาหกรรมต่างๆรวมทั้งอิเล็กทรอนิกส์ และอุสาหกรรมก๊าซ มีการทำให้เป็น
สาธารณะมากขึ้นสำหรับพวกที่ไม่ใช่ SOEs นั้นก็ควรปรับปรุงเรื่องความโปร่งใสเพื่อจะทำให้เป็น
สาธารณะมากขึ้นโดยเชื่อมโยงข้อมูลทางด้านการเงิน
ในปี 1998 รัฐบาลเกาหลีได้ปล่อยให้มีการปฏิรูปขึ้นโดยมีเป้าหมายคือเพิ่มระดับของประ
สิทธิภาพ ความโปร่งใส การอำนวยความสะดวก และการเข้าถึง ในเวลาเดียวกันมีการเพิ่มขึ้นของ
อำนาจการตัดสินใจสำหรับเรื่องของการเป็นตัวแทนคือตำแหน่งของรัฐบาลมีการเปิดให้สมัครจากคน
ภายนอกมากขึ้น โดยรัฐบาลสนับสนุนในเรื่องของการปฏิรูปในตัวรัฐบาล และสิ่งที่สำคัญคือการเริ่ม
ต้นในเรื่องของ e-government ซึ่งเป็นเครื่องมือในการวัดความหลากหลายรวมถึงทำให้ระบบข้อมูล
ของรัฐบาลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
2. การปฏิรูปด้านข้อบังคับ
ในทำนองเดียวกับการปฏิรูปทางด้านโครงสร้าง เกาหลีก็มีมาตรการในการปฏิรูปข้อบังคับ
ให้มีสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่ดีเพื่อเสริมสร้างกลไกตลาดให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
มีคณะกรรมการปฏิรูปข้อบังคับ (Regulatory Reform Committee หรือ RRC ) ร่วมกับสมาชิกจาก
ภาครัฐ 7 องค์กร และหน่วยงานที่ไม่ใช่ภาครัฐ 13 องค์กร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2541 ให้เป็นศูนย์กลางการ
ดำเนินงานปฏิรูป การทำงานมุ่งเน้นไปที่การเปิดเสรี ผลก็คือการควบคุมลดลงครึ่งหนึ่งจากปี 2541
มายังปี 2542 ความสำเร็จเบื้องต้นนี้เป็นแรงกะตุ้นให้เน้นการเปิดเสรีกลไกตลาดและเน้นการแข่งขัน
มากขึ้นหลังจากเกิดวิกฤตการณ์การเงินของเอเชีย ในขณะเดียวกัน RRC ได้สร้างระบบเฝ้าระวังและ
วิเคราะห์ผลกระทบของข้อกำหนดด้วย
RRC ได้พยายามปรับปรุงสาระสำคัญของข้อบังคับด้วยมาตรการหลายอย่างรวมทั้งลอก
เลียนแบบ
( Benchmarking ) บทเรียนจากประเทศอื่นๆ ในปี 2546 รัฐบาลกำหนดขอบเขตของการปฏิรูปข้อ
บังคับ 10 ประการอาทิ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การบริการทางการเงิน Logisticsและการ
กระจายสินค้า การใช้ประโยชน์ในที่ดินโดยพยายามปรับปรุงให้เกิดสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ดี รวม
ทั้งเห็นความสำคัญของข้อบังคับโดยให้เป็นองค์ประกอบหนึ่งของโครงการปฏิรูปเศรษฐกิจ
ในเดือนเมษายน 2547 RRC ได้ตั้ง Corporate Difficulties Resolution Center เพื่อให้บริการ
เบ็ดเสร็จในจุดเดียว ( one-stop service ) แก่องค์กรธุรกิจที่มีปัญหา และหากจำเป็นก็อาจประชุมร่วม
กันของนายกรัฐมนตรีเพื่อช่วยกันหาทางออก ตั้งแต่ก่อตั้งศูนย์นี้ได้ 3 เดือนมีกรณีปัญหา 146 กรณี
โดยแก้ไขไปแล้ว 118 กรณี
3. การเปิดเสรีการลงทุนจากต่างประเทศ
หลังจากเกิดวิกฤตการณ์การเงินของเอเชียในปี 2540 รัฐบาลเกาหลีได้ออกมาตรการต่างๆเพื่อ
เปิดรับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ซึ่ง FDI มีบทบาทสำคัญต่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจเกาหลี
โดยได้มีการออกกฎหมายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ (FIPA)เมื่อปี 2541 เพื่อเปิดเสรีและให้
ความคุ้มครองการลงทุนจากต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีแรงจูงใจหลายประเภทและปรับปรุงมาตร
การการดำเนินธุรกิจและเงื่อนไขการใช้ชีวิตในเกาหลีสำหรับนักลงทุนต่างชาติ
จนกระทั่งมิถุนายน 2547 จากภาคธุรกิจจำนวน 1058 แห่ง มี 99.8% ที่จัดเป็นอุตสาหกรรม
มาตรฐานเกาหลี อาศัยเงินทุนจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ยกเว้นธุรกิจ 2 ประเภทคือ กิจ
การวิทยุและกิจการโทรทัศน์ ที่ยังคงมีการควบคุมเข้มงวด และมีภาคธุรกิจ 26 แห่งที่กำหนดให้มี FDI
บางส่วน ในปัจจุบัน FDI สามารถอยู่ในรูปการตั้งบริษัท M&A การระดมทุน เงินกู้ระยะยาว การ
ระดมทุนหลายประเภทมีการแรงจูงใจหลายประการ เช่น ตามกฎหมาย FIPA ไม่เพียงครอบคลุมถึง
บริษัทต่างชาติ แต่รวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกแก่นักลงทุนต่างชาติด้วย อาทิโรงเรียน โรงพยาบาล
ร้านยาและที่พัก นอกจากนี้ธุรกิจต่างชาติยังได้รับการยกเว้นภาษีในเขตการลงทุนต่างชาติและเขต
เศรษฐกิจเสรี
ความพยายามปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจด้วยการบริหารจัดการและสร้างความร่วมมือ
ทางธุรกิจ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ Invest KOREA ซึ่งทำหน้าที่ให้บริการสนับสนุนการลงทุนแก่นักลง
ทุนต่างชาติในลักษณะบริการเบ็ดเสร็จในจุดเดียว ทำหน้าที่คล้ายกับผู้จัดการโครงการสนับสนุนนัก
ลงทุนต่างชาติ ในด้านขั้นตองการลงทุน นอกจากนี้ Invest KOREA ยังมีหน่วยงาน OIO (Office of
Investment Ombudsman) ทำหน้าที่ช่วยแก้ไขปัญหาให้บริษัทต่างชาติและมีกลุ่มงานสนับสนุนด้าน
แรงงานสัมพันธ์ช่วยเหลือในประเด็นด้านแรงงาน พร้อมทั้งมีโรงเรียนนานาชาติมากขึ้น ขยายวีซ่าให้
ปรับปรุงบริการด้านการแพทย์เพื่อพัฒนามาตรฐานการใช้ชีวิตให้แก่นักลงทุนต่างชาติ
ความพยายามเปิดเสรีของเกาหลีใต้ เป็นผลเนื่องมาจากในปี 2538 เกาหลีได้ขอสมัครเป็น
สมาชิกในกลุ่มประเทศ OECD แต่ผู้ตรวจสอบของกลุ่ม OECD แจ้งแก่เกาหลีว่าระบบเศรษฐกิจของ
เกาหลีมีกฏเกณฑ์การบังคับมากเกินกว่าที่เข้าเป็นสมาชิกได้ แม้ว่าเกาหลีจะมีระดับรายได้มากกว่า
ประเทศสมาชิกอื่นๆ อีก 25 ประเทศ (โปรตุเกส กรีก และเม็กซิโก)

และในเดือนตุลาคม 2539 กลุ่ม OECDได้อนุมัติการเข้าเป็นสมาชิกของเกาหลี แต่เกาหลี
ต้องสัญญาว่าจะดำเนินการให้มีมาตรการเสรีบางประการ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการค้าและการ
ลงทุน)มีผลใช้ได้ภายใน สองสามปีข้างหน้า

สรุป
เศรษฐกิจของเกาหลีใต้เติบโตอย่างก้าวกระโดด ซึ่งเป็นผลมาจากการวางแผนนโยบายอย่าง
รอบคอบ และมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาที่ชัดเจน สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ซึ่งเอกลักษณ์ เฉพาะอยู่ตรงที่ คำนิยมการส่งเสริมทางด้านการศึกษาของประชากร และเมื่อผนวกกับ
บทบาทของรัฐบาลและสภาพแวดล้อมในการทำธุรกิจ จึงส่งผลทำให้มีการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่าง
ต่อเนื่อง เมื่อแบ่งการพิจารณาขั้นตอนทางด้านสังคมเป็น 3 ช่วง ดังนี้
ช่วงแรก สภาพสังคมยังคงเป็นแบบเกษตรกรรม ซึ่งเป็นช่วงที่อยู่ในภาวะหลังสงครามโลก
ครั้งที่ 2 และสงครามเกาหลี ทำให้สหรัฐได้เข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมเกาหลี อยู่ใน
รูปของเงินช่วยเหลือ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งผลทำให้รายได้ต่อหัวเพิ่มสูงขึ้น ขณะเดียวกัน
ก็สะท้อนถึงความจำเป็นที่ต้องพึ่งพาจากต่างประเทศ
ช่วงที่สอง นับได้ว่าเป็นช่วงที่ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจจะมีการก้าว
กระโดดจากประเทศเกษตรกรรมไปสู่ประเทศอุตสาหกรรม รัฐบาลเข้ามามีบทบาทโดยดำเนินการจัด
ตั้งอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานของประเทศ ซึ่งส่งผลต่อเนื่องต่ออุตสาหกรรมอื่นๆ และสอดคล้องกับ
อุตสาหกรรมครอบครัวขนาดใหญ่ (แชโบล) ซึ่งเน้นไปที่อุตสาหกรรมการส่งออก จนรูปแบบอุต
สาหกรรมมีการพัฒนาจากอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก (Labor intensive) กลายเป็นอุตสาห
กรรมที่ใช้เทคโนโลยี (Technology intensive) ซึ่งมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ควบคู่ไปด้วย
ช่วงที่สาม ช่วงเปิดเสรี ภายหลังจากการเกิดวิกฤตภายในภูมิภาคเอเชีย เกาหลีใต้ได้รับผล
กระทบไปด้วย จึงทำให้อัตราการเจริญเติบโตจาก 9% ลดเป็น -5% จากเหตุการณ์ดังกล่าว จึงทำให้
เกาหลีใต้เปิดเสรีทางด้านเศรษฐกิจ คือ ทั้งด้าน การค้า การลงทุน การเงิน ซึ่งผลของการเปิดเสรี
ทำให้กลไกตลาดมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นส่งผลทำให้เกาหลีใต้เป็นประเทศแรกในภูมิภาคที่ฟื้นตัว
จากวิกฤตได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้เวลาเพียง 2 ปี เนื่องจากรัฐบาลมีบทบาทเป็นเพียงผู้สนับสนุน ไม่ใช่
ผู้ควบคุมเหมือนแต่ก่อน จะเห็นได้ว่ารัฐบาลมีการปรับบทบาทของตนตามสภาวะเศรษฐกิจ
ทั้งนี้ปัจจัยหลักที่เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้ คือการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ ในเรื่องการส่งเสริมการศึกษาของคนในสังคม ประกอบกับการที่อุตสาหกรรมของ
เกาหลีใต้เป็นอุตสาหกรรมที่ผลิตโดยเน้นการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเน้นอุตสาหกรรมเพื่อการส่งวอ
อก ซึ่งสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้อย่างมหาศาล จึงทำให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ต่อมา
เกาหลีใต้ได้เน้นการเปิดเสรีทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกจน
ทำให้เกาหลีใต้สามารถก้าวเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มประเทศ OECDได้

วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2551

เศรฐกิจของเกาหลี

ลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจของเกาหลี

ที่ตั้ง ตั้งอยู่ตอนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี โดยมีเส้นขนานที่ 38 แบ่งกั้นระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลีใต้) และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ)
พื้นที่ 99,392 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี (1 ใน 5 ของไทย)
ประชากร 48.2 ล้านคน (ณ มีนาคม 2548)
เมืองหลวง กรุงโซล (Seoul)
เมืองที่สำคัญ ปูซาน แตจอน แตกู อินชอน และกวางจู
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน 2534
GDP ต่อหัว รายได้ต่อหัว (PPP) 22,050 ดอลลาร์สหรัฐ (2548)
หน่วยเงินตรา ประมาณ 1,000 วอน ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ
ภูมิอากาศ มี 4 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว เดือน มิ.ย.- ส.ค.เป็นช่วงฝนตกชุก อุณหภูมิโดยเฉลี่ย -5 C ในฤดูหนาว และ 33 C ในฤดูร้อน
ศาสนา มีประชากรนับถือศาสนาพุทธ 46% โปรเตสแตนต์ 39% คาทอลิก 13% ขงจื๊อ 1%และอื่นๆ 1%
การศึกษา ภาคบังคับ 9 ปี
อัตราการรู้หนังสือ ร้อยละ 98
บุคคลสำคัญ : ประธานาธิบดี นาย Roh Moo-hyun (โน มูเฮียน) รับตำแหน่งเมื่อ 25 ก.พ. 2546

เครื่องชี้วัดภาวะเศรษฐกิจที่สำคัญของเกาหลีใต้


ที่มา: Bank of Korea, Ministry of Finance and Economy, Natinal Statistic Organization,
IMF

จากตารางจะเห็นว่า Normimal GDP ในปี 2547 สูงขึ้นจากปี 2546 15.2 (พันล้าน uss) เนื่องมาจากมูลค่าการค้าระหว่างประเทศได้เปรียบดุลการค้าเพิ่มขึ้นจากปี 2546 ถึง 7.7 พันล้าน uss ดุล บัญชีเดินสะพัดก็มีมูลค่าเพิ่มขึ้นจากปี 2546 ถึง 7.6 พันล้านuss มีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ เพิ่มขึ้นจากปี 2546 1.9 พันล้านuss มีทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นจากปี 2546 8.2 พันล้านuss อัตราเงินเฟ้อคงที่ อัตราการว่างงานลดลง 0.1%จากปี 2546 อันเนื่องจากมีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น
ถึงแม้ว่าอัตราแลกเปลี่ยนจะแข็งค่าขึ้นจากปี 2546 7.1 won/uss และการเป็นหนี้ต่างประเทศก็ ยังเพิ่มขึ้นจากปี 2546 12.6 พันล้านuss รวมถึงการลงทุนและการบริโภคภายในประเทศก็มีลักษณะ ชะลอตัวลงจากปี 2546 ซึ่งผลของการที่ การบริโภคและการลงทุนในประเทศลดลงทำให้ Real GDP Growth (%)ลดลงจากปี 2546 ในอัตรา 1.9 ( % )จากความซบเซาอย่างหนักของเศรษฐกิจเกาหลีใต้ในปี 2546 ที่มีผลมาจากความตรึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีเกี่ยวกับปัญหาอาวุธนิวเคลียร์ ตาม ด้วยผลกระทบจากสงครามอิรัก และการแพร่ระบาดของโรค SARS ประกอบกับการบริโภคและ การลงทุนภาคธุรกิจภายในประเทศลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ในปี 2547 นั้นเศรษฐกิจเกาหลีใต้กลับดีขึ้นกว่าในปี 2546 มาได้นั้นเป็นผลมาจากการที่ภาวะเศรษฐกิจโลกโดยรวมดีขึ้น โดยเฉพาะ ด้านการค้าที่ได้เปรียบดุลการค้าและมีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเพิ่มมากขึ้นซึ่งเป็นส่วนที่ช่วยเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแทนการบริโภคและการลงทุนที่ชะลอตัวลง
ประวัติศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมเกาหลีใต้
เกาหลีใต้มีรายได้ต่อหัวต่อปีประมาณ 100 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 2,000 กว่าบาท
เมื่อทศวรรษ 2490 พ.ศ. เพิ่มเป็น 4,400 เหรียญหรือ 110,000 บาทต่อปี (รายได้ต่อหัวของไทยปี 2532
เท่ากับ 1,230 เหรียญ หรือ30,750 บาทต่อปี) การเปลี่ยนแปลงของเกาหลีใต้รวดเร็วมาก ความสำเร็จ
ในการเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจนับเป็นเรื่องน่าทึ่ง แม้ว่าเกาหลีใต้จะเป็นประเทศที่มีทรัพยากรน้อย แต่มีประชากรหนาแน่น มีอัตราความหนาแน่นของประชากรต่อเนื้อที่สูงถึง 440 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งสูงกว่าในอังกฤษในระดับ 33 คนต่อตารางกิโลเมตร แต่ต่ำกว่าบังคลาเทศ ณ ระดับ 756 คนต่อตารางกิโลเมตร ที่ดินส่วนใหญ่เป็นป่าเขา ที่เหมาะจะทำการเพาะปลูกได้มีเพียงร้อยละ 25 และยังมีแร่ธาตุน้อย เพื่อจะเข้าใจว่าเหตุใดเกาหลีใต้จึงพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว และใช้ยุทธวิธีอะไรจึงต้อง ศึกษาประวัติศาสตร์ย้อนไปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยจะแบ่งช่วงการเปลี่ยนแปลงเป็น 3 ช่วง คือ
1. สมัยเป็นอาณานิคมของญี่ปุ่น พ.ศ.2453-2489
2. แผนปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ พ.ศ. 2504-2522
3. เปิดเสรี -ปัจจุบัน
1. ช่วงที่ 1 สมัยเป็นอาณานิคมของญี่ปุ่น พ.ศ.2453-2489
ช่วงที่เกาหลีใต้ตกเป็นอาณานิคมของญี่ปุ่นนั้น ประเทศมีฐานะยากจน เป็นประเทศกสิกรรม ญี่ปุ่นได้เข้ามาพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก เข้าครอบครองที่ดินบางส่วน จัดระบบการศึกษา โดยใช้ เกาหลีใต้เป็นแหล่งวัตถุดิบและตลาดสำหรับสินค้าญี่ปุ่น
ช่วงตกเป็นอาณานิคม ญี่ปุ่นครอบงำเกาหลีใต้มาก และทารุณกรรมจนคนเกาหลีใต้เกลียดชังญี่ปุ่น ทั้งช่วงปกติและช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้หญิงเกาหลีใต้จำนวนมากต้องเป็นโสเภณี เป็นนางบำเรอให้ทหารญี่ปุ่น ชาวเกาหลีใต้ถูกส่งไปทำงานที่ญี่ปุ่นเป็นจำนวนมาก เมื่อสงครามสิ้นสุดลง ญี่ปุ่นไม่ยอมให้โอนสัญชาติ ยังถือว่าเป็นคนต่างด้าวต้องถูกพิมพ์นิ้วมือ และถูกเหยียดหยามเป็นคนชั้นสองในญี่ปุ่น
เกาหลีเป็นอาณานิคมญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 2453 แต่ญี่ปุ่นเข้ามีอิทธิพลในเกาหลีใต้ก่อนหน้านั้น แล้ว โดยบังคับให้เปิดประเทศทำการค้าด้วยตั้งแต่ พ.ศ.2319 ช่วงตกเป็นอาณานิคมนี้ เกาหลีเป็นสังคมเกษตร กว่า 80% ของประชากรเป็นชาวนาและยากจน เศรษฐกิจอยู่ใต้การครอบงำของกษัตริย์ราชวงศ์ยี่ ซึ่งปกครองเกาหลีมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 เมื่อถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 24 สังคมเกาหลีก็ยังยากจน ผู้ปกครองคอรัปชั่น และราชวงศ์สนใจแต่พรรคพวกตนเอง ไม่ทำนุบำรุงบ้านเมืองที่ดินทั้งหมดเป็นของพระเจ้าแผ่นดิน คนธรรมดาเป็นเจ้าของไม่ได้ ผู้เป็นเจ้าของที่ดินคือราชวงศ์ขุนนาง ซึ่งได้รับพระราชทานที่ดินขนาดใหญ่ จึงมีระบบเจ้าที่ดิน (Land Lordism) ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ร้อยละของชาวนาเป็นผู้เช่านา อำนาจอยู่ที่พระมหากษัตริย์และขุนนาง ผู้คนถูกควบคุมผ่านระบบเจ้าของที่ดิน การสืบทอดมรดกและอภิสิทธิ์ของขุนนาง ลัทธิขงจื้อถูกใช้เป็นเครื่องมือของระบบสังคมที่เป็นชนชั้น และมีการแบ่งชั้นต่ำสูง เป็นข้อจำกัดของการเคลื่อนย้ายทรัพยากรและแรงงงานเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
ดังนั้นเกาหลีภายใต้ราชวงศ์ยี่ จึงมีระบบเศรษฐกิจที่อ่อนแอ และถูกครอบงำโดยญี่ปุ่นและจีน ทั้งสองประเทศนี้แย่งกันครอบงำเกาหลี หลังจากจีนแพ้สงครามญี่ปุ่น เมื่อ พ.ศ. 2445 เกาหลีซึ่งเคยอยู่ใต้อิทธิพลของจีนจึงตกเป็นประเทศในครอบครองของญี่ปุ่น ต่อมา พ.ศ. 2453 ญี่ปุ่นรวมเกาหลีเป็นส่วนหนึ่งของประเทศตน ชาวเกาหลีบางส่วนหนีไปแมนจูเรีย เซี่ยงไฮ้ และฮาวาย ญี่ปุ่นครอบครองเกาหลีจนแพ้สงครามโลกครั้งที่2 ในปี พ.ศ. 2488

ผลกระทบของการตกเป็นอาณานิคม มีทั้งส่วนดีและส่วนเสีย
ญี่ปุ่นจำกัดสิทธิเสรีภาพภายใต้การก่อตั้งสมาคม หนังสือพิมพ์ ไม่ให้มีการสอนวิชาภาษาเกาหลี ประวัติศาสตร์เกาหลีในโรงเรียนไม่ได้ช่วยปรับปรุงสภาพการถือครองที่ดินภาคเกษตร โดยในปี พ.ศ. 2456 ร้อยละ 40 ของครอบครัวชาวนาชาวไร่เป็นผู้เช่านาล้วน ๆ ประมาณร้อยละ 80 มีลักษณะเป็นผู้เช่าหรือเช่าบางส่วน เมื่อถึงทศวรรษ 2460 ประมาณกันว่ามากกว่าร้อยละ 50 ของผู้เช่ามีระดับการครองชีพต่ำกว่าระดับพอยังชีพขั้นพื้นฐาน หลาย ๆ คนไม่อาจจ่ายภาษี ทำให้ที่ดินตกเป็นของรัฐบาลอาณานิคมญี่ปุ่น ชาวนาจำนวนมากต้องถูกไล่ออกจากที่ดินและอพยพย้ายออกไปต่างประเทศ
ช่วงที่เกาหลีตกเป็นอาณานิคมญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเข้าเป็นเจ้าของที่ดินในภาคเกษตร ไม่ได้เข้ามาช่วยพัฒนาอะไรมาก ไม่ได้ช่วยสร้างผลผลิตส่วนเกินภาคเกษตร แต่เก่งในการดูดเอาส่วนเกินออกไป (ในรูปค่าเช่า ดอกเบี้ย) มูลค่าค่าเช่าคิดเป็นร้อยละ 50 ของผลผลิต และในเขตอุดมสมบูรณ์ภาคใต้ค่าเช่าอาจสูงถึงร้อยละ 90 นอกจากนี้รัฐบาลเจ้าอาณานิคมยังเก็บภาษีข้าวจากชาวนาทศวรรษ 2470 ร้อยละ40 ของผลผลิตถูกส่งออกขายนอกจากนี้ยังเก็บภาษีรายได้ของชาวนา
ดังนั้น ช่วงพ.ศ. 2453-2483 ผลผลิตเกษตรเพิ่มร้อยละ 74 ข้าวที่บริโภคเฉลี่ยต่อคนลดลง นอกจากภาคเกษตรจะถูกดูดส่วนเกินออกไปในรูปของค่าเช่า ทำให้ชาวนายากจนแล้ว ในภาคเมืองคนจนเมืองก็เกิดขึ้น ข้อมูลที่มีแสดงว่าช่วง พ.ศ.2453-2483 รายได้ของคนงานในเมืองโดยเฉลี่ยลดลงร้อยละ 33 รัฐบาลญี่ปุ่นที่ครอบครองเกาหลีอยู่ ไม่ส่งเสริมการลงทุนของเกาหลี และสนับสนุนให้ชาวญี่ปุ่นได้เข้ามาครอบงำธุรกิจทุกสาขา
ผลกระทบของญี่ปุ่นในด้านความเปลี่ยนแปลงและความทันสมัย
เมื่อญี่ปุ่นเข้ามาครอบครอง ได้ยกเลิกระบบกษัตริย์ ระบบเศรษฐกิจเกษตรถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นการผลิตเพื่อการค้าอย่างกว้างขวาง ขยายและส่งเสริมระบบถือครองที่ดินโดยเอกชน
ผลผลิตภาคเกษตร เจริญเติบโตในอัตราเดียวกับอัตราการเพิ่มของประชากรแต่ผลผลิตภาค อุตสาหกรรมเพิ่มรวดเร็วกว่า
อุตสาหกรรมสมัยตกเป็นอาณานิคม
ญี่ปุ่นใช้เกาหลีเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อการสะสมอาวุธในการทำสงคราม
โลกครั้งที่สอง นับตั้งแต่ทศวรรษ 2470 อันเป็นระยะเดียวกับที่ญี่ปุ่นได้บุกแมนจูเรีย (พ.ศ.2474) และ
เข้าครอบครองภาคใต้ของจีน (พ.ศ. 2480)
ญี่ปุ่นบังคับให้แรงงานเกาหลีออกจากนามาทำงานโรงงานของพวกเขา ปลายทศวรรษ 2470
นั้น สัดส่วนของการผลิตอุตสาหกรรมในเกาหลีมีถึงร้อยละ 29 ของ GDP ซึ่งเป็นสัดส่วนที่สูงมาก แม้เมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ว อุตสาหกรรมดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในที่ที่เป็นเกาหลีเหนือในปัจจุบัน
เป็นอุตสาหกรรมหนักเช่น เหล็ก ถ่านหิน แต่การเกษตร อุตสาหกรรมเบา เช่น สิ่งทอ และการผลิต
เครื่องจักรบางส่วนอยู่ในเขตภาคใต้ ซึ่งมีประชากรหนาแน่นกว่า
การพัฒนาความเป็นเมืองขยายตัวขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุตสาหกรรม ญี่ปุ่นเข้าครอบครอง
เกาหลี กรุงโซล (Seoul) มีประชากรเพียง 200,000 คน พอสิ้นสุดการตกเป็นอาณานิคม (2488) เพิ่ม
เป็น 1 ล้านกว่าคน
การพัฒนาอุตสาหกรรมของเกาหลี เกี่ยวโยงกับการค้ากับญี่ปุ่นสูงมาก ทำให้มีลักษณะ
เศรษฐกิจเปิด กล่าวคือสัดส่วนการค้า สินค้าส่งออก-นำเข้า สูงถึงร้อยละ 50 ของ GDP
การตกเป็นอาณานิคม ทำให้เกาหลีมีความรู้สึกชาตินิยมสูงคือแนวคิดชาตินิยมสะสมมาตั้งแต่
ช่วงตกเป็นอาณานิคม เกาหลีเป็นชนชาติที่ได้มีประวัติศาสตร์และความเป็นชาติเกาหลีมาก่อนแล้ว
มากกว่า 2,000 ปี มีภาษาที่แตกต่างจากจีนและญี่ปุ่น และลักษณะประชากรคล้ายคลึงกันมาก มีชนก
ลุ่มน้อยไม่มาก คือผู้คนส่วนใหญ่เป็นชนชาวเกาหลี ดังนั้นเมื่อถูกครอบครองโดยญี่ปุ่น จึงทำให้เกิด
ความรู้สึกต่อต้าน และมีความชาตินิยมสูง
โดยสรุปผลกระทบของการตกเป็นอาณานิคม มีทั้งบวกและลบ
1. แม้จะถูกข่มเหงเอาเปรียบจนทำให้แนวคิดชาตินิยมรุนแรงแต่ช่วงอาณานิคมเกิดการพัฒนา
อุตสาหกรรม การพัฒนาเมือง และการขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศ
2. กล่าวกันว่าญี่ปุ่นได้สร้างรากฐานทางด้าน ความรู้สึกชาตินิยม การยกเลิกระบบกษัตริย์
การพัฒนาอุตสากรรมเมือง การค้า นำไปสู่ประสบการณ์ในการทำงานแบบสังคมอุตสาหกรรม
สิ่งเหล่านี้ถือเป็นรากฐานที่มีส่วนผลักดันให้ความพยายามพัฒนาอุตสาหกรรมเกิดขึ้นได้รวด
เร็ว เมื่อเกาหลีพัฒนาในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกาหลีและผลกระทบ (พ.ศ. 2489-2503)
หลังจากที่ญี่ปุ่นต้องปลดปล่อยเกาหลีเพราะเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง ก็เกิดสงครามกลาง
เมืองขึ้น ทำให้เกาหลีต้องแบ่งแยกประเทศออกเป็นเหนือและใต้ เกาหลีเหนือเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่อง
จากสนิทชิดชอบกับกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ เกาหลีใต้อยู่ภายใต้อิทธิพลของสหรัฐฯ เราจะ
วิเคราะห์เฉพาะเกาหลีใต้ จะเห็นว่าหลังสงครามเกาหลี เกาหลีใต้อยู่ภายใต้การช่วยเหลือของสหรัฐฯ
ได้พัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว

การถอนตัวของญี่ปุ่น และการแบ่งแยกดินแดน
หลังจากที่ญี่ปุ่นต้องถอนตัวออกไป หลังแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เกาหลีทั้งประเทศเป็น
อิสระ แต่สถานภาพทางการเมืองระส่ำระสาย อำเภอต่าง ๆอยู่ในความดูแลของรัสเซีย และอเมริกาก็
ได้เข้ามาช่วยทำสงครามสหรัฐฯ มีอิทธิพลมากในภาคใต้ ขณะที่รัสเซียมีอิทธิพลมากในภาคเหนือ
เมื่อสงครามจบใหม่ ๆ ยังไม่มีรัฐบาลแน่นอน ในขณะเดียวกันก็เกิดการลุกฮือของมวลชนตามเขตต่าง
ๆ เพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไป มีการก่อตั้งคณะกรรมการประชาชน (People’s Committee) ในภาคใต้ เพื่อ
บริหารเขตท้องถิ่นของตน จับกุมญี่ปุ่น ปลดอาวุธญี่ปุ่น ปลดปล่อยนักโทษการเมือง และลงโทษผู้
ร่วมมือกับญี่ปุ่น
ในโรงงานมีการก่อตั้งสหภาพแรงงานอย่างกว้างขวาง รวมตัวกันเป็นองค์กรกลางของสห
ภาพแรงงาน และได้ทำการสไตร์คทั่วไปเมื่อ พ.ศ. 2489 ในชนบทก็มีการเรียกร้องให้แก้ปัญหาผู้เช่าที่
ดิน และมีการวางแผนจัดแบ่งที่ดินใหม่ มีการก่อตั้งรัฐบาลเรียกว่า Korean People’s Republic
แต่เมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงครามแล้ว และทหารสหรัฐฯได้เข้ามาประจำเกาหลีใต้ สหรัฐฯเข้ามามี
บทบาทการก่อตั้งรัฐบาลและดำเนินนโยบายอื่น ๆ อีกหลายประการ
1.สหรัฐฯ ไม่ยอมรับรัฐบาลที่ก่อตั้งขึ้นมาโดยชาวเกาหลี (Korean People’s Republic) แต่ได้
สนับสนุนให้ผู้นำที่เคยทำงานภายใต้ญี่ปุ่น มีลักษณะอนุรักษ์นิยม ต่อต้านคอมมิวนิสต์ และต่อต้าน
ญี่ปุ่นขึ้นมาเป็นใหญ่ กลุ่มนี้นำโดยซิงมันรี (Syngman Rhee) สหรัฐฯสนับสนุนกลุ่มสหภาพแรงงาน
ของตนขึ้นมาด้วย
2.การกระทำของสหรัฐฯ นำไปสู่การต่อต้านจากกลุ่มหัวก้าวหน้า รวมทั้งสหภาพแรงงาน ซึ่ง
ได้เรียกร้องให้มีการนัดหยุดงานขนานใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2489 กลุ่มของสหรัฐฯ จัดการกับพลังมวลชน
เหล่านั้นอย่างรุนแรง และคนงานจำนวนมากเสียชีวิตในการเดินขบวน
3.หลังจากนั้นก็ได้มีการนำกฎอัยการศึกมาใช้ เพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มที่เป็นปรปักษ์ และ
ต่อต้านสหรัฐฯขึ้นมาเป็นใหญ่ได้
4.พ.ศ. 2491 มีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคอนุรักษ์นิยมที่สหรัฐฯสนับสนุน 2 พรรคได้เสียงข้าง
มาก และซิงมันรีได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี หลังจากนั้นก็มีการกวาดล้างผู้ต่อต้านรัฐบาล กล่าวกัน
ว่าผู้คนกว่า 90,000 คนถูกจับเข้าคุกหรือคุมขังระหว่างปี 2491-2492
5.ที่ภาคเหนือนั้น รัสเซียก็สนับสนุนช่วยก่อตั้งรัฐบาลที่มีความนิยมโซเวียต และลัทธิ
คอมมิวนิสต์ขึ้นมา ดังนั้นช่วงปี พ.ศ. 2491-2492 จึงเกิดมีรัฐบาลที่ภาคเหนือโดยมีโซเวียตหนุน ภาค
ใต้มีรัฐบาลหนุนโดยสหรัฐฯ ทั้ง 2 รัฐบาลมีอุดมการณ์ทางการเมืองต่างกันไป และเป็นต้นตอของ
ความแตกแยกอันนำไปสู่สงครามเกาหลี

การปฏิรูปและการจัดสรรที่ดิน
ได้กล่าวแล้วถึงการที่เกาหลีใต้มีชาวนาเช่าในอัตราสูง และส่วนใหญ่ยากจน ดังนั้นชาวนาที่มี
ปัญหาจึงเรียกร้องให้ปฏิรูปที่ดินหลังญี่ปุ่นแพ้สงคราม ตัวอย่างการปฏิรูปที่ดินที่โซเวียตที่รัสเซียนำ
มาใช้ที่เกาหลีเหนือทำให้เกิดความพยายามจะจัดสรรที่ดินให้ชาวนายากจนขึ้นในภาคใต้ด้วย
มีความพยายาม 2 ช่วงด้วยกันคือ
1.พ.ศ. 2492 สหรัฐฯ จัดสรรที่ดินซึ่งเคยตกอยู่ภายใต้การครอบครองของญี่ปุ่น โดยกำหนด
มูลค่าขาย 3 เท่าของผลผลิต แล้วให้ผู้ซื้อจ่ายเงินเป็นงวดภายใน15 ปี โดยจ่ายเป็นผลผลิตร้อยละ 20
ของผลผลิตทั้งหมด
2.พ.ศ. 2493 ได้มีการออกกฎหมายปฏิรูปที่ดินให้อำนาจรัฐบาลบังคับซื้อที่ดินจากผู้ที่มีที่ดิน
มากกว่า 18.75 ไร่ แล้วเอามาขายให้ผู้ไม่มี ตามแนวเดียวกับที่กล่าวแล้ว รัฐบาลมิได้ซื้อที่ดินเป็นเงิน
สดโดยทันที แต่จ่ายให้เป็นพันธบัตร พวกเจ้าของที่ดินก็ไม่อยากเก็บพันธบัตรไว้ส่วนใหญ่ขายคืนให้
รัฐบาล
การปฏิรูปที่ดินมีผล คือ
- ปรับเปลี่ยนโครงสร้างสังคมเกาหลีใต้ โดยลดจำนวนและบทบาทเจ้าของที่ดินลงไป ทำลาย
เจ้าของที่ดินขนาดใหญ่ ซึ่งเคยมีอิทธิพลเหนือองค์กรต่างๆของสังคม (เกิดขึ้นพร้อมกับการหมด
อำนาจของญี่ปุ่น) อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม และพัฒนาการของชนชั้นนายทุน
- การจัดสรรที่ดิน ให้ชาวนาไร้ที่ดินและการกำหนดขนาดที่ดิน ถือครองให้ทัดเทียมกันการ
กระจาย ทรัพย์สินสำคัญคือที่ดิน ทำให้การกระจายรายได้ดีขึ้น เป็นฐานของตลาดอุตสาหกรรม
- การที่รัฐขายที่ดินโดยให้ผู้ซื้อจ่ายเป็นผลผลิต เป็นวิธีบังคับซื้อผลผลิตส่วนเกินราคาถูก แล้ว
รัฐบาลเอาไปขายราคาแพง มีความพยายามช่วยเหลือด้านปัจจัยการผลิต และวิธีการผลิตด้วย เป็นวิธี
เก็บภาษีชาวนาโดยไม่ทำให้เกิดปัญหา
ปัจจุบันครัวเรือนเกษตรเกาหลี จะมีที่ดินระหว่าง 0.15-1.5 เฮคตาร์ (0.9-3ไร่) โดยกฎหมาย
บังคับว่าจะมีที่ดินมากกว่า 18.75 ไร่ไม่ได้ แต่จริงๆก็มีผู้มีที่ดินมากกว่าที่กฎหมายกำหนดเป็นกรณี
เฉพาะ คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
ความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา และการพัฒนาอุตสาหกรรม
สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเหลือแก่เกาหลีใต้มาก และเงินเหล่านี้มีบทบาทสำคัญช่วย
สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม ระหว่างพ.ศ. 2488-2521 ความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาให้แก่
เกาหลีใต้มีมูลค่ากว่า 6 พันล้านเหรียญ ซึ่งเท่ากับเงินที่ช่วยทวีปอาฟริกาทั้งทวีปในช่วงเดียวกัน
ในพ.ศ. 2499-2501 เงินความช่วยเหลือคิดเป็นร้อยละ 15 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ หรือGNP (Gross National Product) หรือเท่ากับร้อยละ 80 ของรายได้จากการส่งออกของเกาหลีในช่วง
นั้น
บทบาทของเงินความช่วยเหลือที่สำคัญ
1) ช่วยปลดเปลื้องภาวะที่รัฐบาลต้องเอาเงินงบประมาณประจำปีมาใช้จ่ายทางการทหาร ทำ
ให้สามารถเอาเงินรายได้จากภาษีไปใช้จ่ายด้านเศรษฐกิจและด้านอื่นได้เต็มที่
2) ทำให้รัฐบาลเกาหลีใต้สามารถเพิ่มจำนวนข้าราชการในสังกัดได้เป็นจำนวนมาก และมีเงิน
ลงทุนด้านการศึกษาจนแรงงานเกาหลีใต้เป็นแรงงานที่มีการศึกษาสูงประเทศหนึ่ง
3) เงินจากสหรัฐฯ ทำให้เกาหลีใต้มีเงินตราต่างประเทศซื้อเครื่องจักร และสินค้าทุน และวัตถุ
ดิบจากต่างประเทศที่เกาหลีผลิตเองไม่ได้ประกอบกับความสนับสนุนธุรกิจขนาดใหญ่ของรัฐบาล จึง
ทำให้เกิดธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่เรียกว่า chaebols ในยุคนี้ (พ.ศ. 2493+) อุตสาหกรรมของ
เกาหลีเจริญเติบโตมาก และมีการลงทุนโดยการสนับสนุนจากรัฐในภาคอุตสาหกรรมกว้างขวาง รวม
ทั้งอาหาร เครื่องดื่ม บุหรี่ และอุตสาหกรรมทอผ้า (2/3 ของมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม) อุตสาหกรรม
สำคัญอื่นๆก็มีกระดาษ เหล็กกล้า น้ำมัน การผลิตอุตสาหกรรมในยุคนี้ (ทศวรรษ 2490 และ 2500)
เป็นการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าหรือสนองความต้องการตลาดภายในเป็นหลัก อุตสาหกรรมได้รับ
การอุดหนุนจากรัฐบาลเกาหลีซึ่งส่วนหนึ่งก็คือ เงินจากสหรัฐฯ ผู้ศึกษาเกาหลีใต้มีข้อสรุปว่าการ
พัฒนาอุตสาหกรรมในสมัยนี้ได้รับการอุดหนุนจากเงินสหรัฐฯ ปลายทศวรรษ 2490 มูลค่าสินค้านำ
เข้าคิดเป็นเพียงร้อยละ 10 ของ GNP คือระบบเศรษฐกิจแทบจะไม่สามารถหารายได้จากการส่งออก
ได้เลย เงินส่วนใหญ่ที่ใช้พัฒนาและซื้อสินค้าเข้าจึงมาจากสหรัฐฯ เสียส่วนมาก
4) อลิศ แอมสเด็น ผู้เชี่ยวชาญเศรษฐกิจเกาหลีใต้ชี้ให้เห็นว่า เกาหลีใต้มีคอรัปชันสูงใน
บรรดานักการเมืองช่วงพ.ศ. 2491-2503 นักการเมืองและนักธุรกิจที่มีเส้นสายสามารถซื้อที่ดินที่เคย
เป็นของญี่ปุ่นราคาถูกๆ ได้รับเงินกู้ราคาถูก นักธุรกิจที่มีเส้นสายจะได้รับอภิสิทธ์ต่างๆทำให้ธุรกิจ
ของตนก้าวหน้ากว่าผู้ไม่มีเส้นสาย ซึ่งอลิศชี้ว่า สถานการณ์เช่นนี้จะคงอยู่ไม่ได้ถ้าไม่มีเงินอัดฉีด
จำนวนมากจากสหรัฐฯ และถ้าสหรัฐฯไม่ช่วยเหลือด้านการทหาร โดยสนับสนุนระบบเผด็จการ
ทหารด้วย ทำให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการคอรัปชันของทหารและข้าราชการไม่สามารถออกมาวิจารณ์รัฐ
บาลได้
รัฐบาลเผด็จการทหารภายใต้การนำของประธานาธิบดีซิงมันรี คงอยู่ได้จนถึงพ.ศ. 2500 ก็
เพราะสหรัฐฯ เมื่อสหรัฐฯ ยุติการสนับสนุนในปีนั้น หลังจากที่นักศึกษาเดินขบวนแล้ว ตำรวจยิงใส่
พวกเดินขบวนและยิงนักศึกษาตายไป ประธานาธิบดีถูกบังคับให้ลาออก
รัฐบาลใหม่ที่เข้ามาก็เป็นรัฐบาลที่สหรัฐฯสนับสนุน โดยเข้ามาด้วยคำขวัญ “พัฒนาเศรษฐกิจ
เป็นอันดับแรก” และตอบสนองความต้องการของจากสหรัฐฯ ซึ่งประธานาธิบดีซิงมันรีเคยปฏิเสธ
ก่อนหน้านี้ นั่นคือข้อเรียกร้องจากสหรัฐฯ ให้รัฐบาลเกาหลีใต้ดูแลการใช้เงินความช่วยเหลืออย่างรัด
กุมขึ้น และขอให้รัฐบาลเกาหลีใต้ลดค่าเงินวอน

โดยสรุป ช่วง 15 ปีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีใต้ถูกผลกระทบจากสงครามอย่างมาก
ประชากรล้มตายประมาณ 1 ล้านคน อุตสาหกรรมก็ชะงักงัน โดยครึ่งหนึ่งของการผลิตถูกทำลาย การ
ฟื้นฟูหลังสงครามกระทำได้ด้วยความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ และโดยใช้มาตรการกระจายที่ดินให้กับ
ผู้ไม่มีที่ดินและผู้เช่านา ทำให้ผลผลิตเกษตรเพิ่มและราคาอาหารถูกลง และมีผลดึงการลงทุนออกจาก
การเก็งกำไรที่ดินมาสู่การลงทุนอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเจริญรวดเร็วช่วงพ.ศ. 2496-2501 สาขา
อุตสาหกรรมที่มีอยู่เดิมขยายไปสู่สาขาอื่นๆ ธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่เรียกว่าแชโบลส์
(Chaebols : กลุ่มธุรกิจที่ควบคุมโดยครอบครัว) ได้รับประโยชน์จากเงินความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ
ทั้งโดยตรงและโดยอ้อมและด้วยความสนับสนุนอุดหนุนจากรัฐบาลเกาหลีใต้เอง ทั้งในด้านการ
อุดหนุนอย่างเป็นทางการและผ่านการคอรัปชัน อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นอุตสาหรรมทดแทนการ
นำเข้า



วิเคราะห์ตามการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงที่ 1
การที่เกาหลีใต้เป็นเมืองขึ้นของจีนและญี่ปุ่นส่งผลอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศ การ
พัฒนาเศรษฐกิจในช่วงต้นของเกาหลี เป็นช่วงที่ลักษณะเศรษฐกิจยังเป็นเกษตรกรรม และจากการ
ถูกครอบครองโดยญี่ปุ่น เพื่อใช้เกาหลีเป็น
- ฐานการผลิตอุตสาหกรรมทหาร
- ตลาดกระจายสินค้า
- จุดยุทธศาสตร์ในการแผ่ขยายอิทธิพลเข้าสู่ประเทศจีน
ทำให้เกิดกลุ่มผูกขาดภายในประเทศ ซึ่งติดต่อทางการค้ากับญี่ปุ่น เป็นกลุ่มที่มีอำนาจจัดสรร
ทรัพยากรในประเทศ กลายเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของเกาหลี นอกจากนี้ญี่ปุ่นได้เข้ามา
จัดระบบการครอบครองที่ดินโดยใช้ระบบเช่าที่ดินต่อจากคนญี่ปุ่น
ผลก็คือ ทำให้ระบบเศรษฐกิจของเกาหลียังคงเป็นเกษตรกรรมยากจน รายได้ต่อหัว(Income
per capita) ยังอยู่ระดับต่ำจึงเป็นการยากที่จะพัฒนาเศรษฐกิจได้ (Impossible development) ภาย
หลังที่ญี่ปุ่นแพ้สงคราม สหรัฐอเมริกาได้เข้ามามีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจเกาหลีเป็นอย่างมาก จะเห็นได้
จากลักษณะการพึ่งพาสหรัฐอเมริกา โดยพิจารณาได้จาก เงินอุดหนุนจากสหรัฐอเมริกาเป็นสัดส่วน
สูงต่อ GDP (ตั้งแต่ปี 2523)
ในเวลาต่อมาสหรัฐอเมริกาเข้ามามีอิทธิพลในคาบสมุทรเกาหลี จนทำให้เศรษฐกิจของ
เกาหลีขยายตัว แต่ภาคการเกษตรกรรมก็ยังคงมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจอยู่เช่นเดิม





2. ช่วงที่ 2 แผนปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ พ.ศ. 2504-2522
ทศวรรษ 2500 คนเกาหลีใต้ยังยากจนร้อยละ 80 ของรายได้ โดยเฉลี่ยใช้ซื้ออาหาร ที่อยู่ เสื้อ
ผ้า เชื้อเพลิง อัตราการตายของทารกเท่ากับ 64 ต่อ 1000 เทียบกับ 24 ต่อ 1000 ในประเทศพัฒนาแล้ว
ร้อยละ 18 ของครัวเรือนเท่านั้นที่มีน้ำประปาใช้ แต่ได้มีรากฐานของการพัฒนาเกิดขึ้นแล้วคือ ทาง
ด้านการศึกษา
พ.ศ. 2508 ร้อยละ 35 ของคนในกลุ่มอายุที่ควรเรียนมัธยมได้เรียนมัธยม และร้อยละ 6 ของ
คนในกลุ่มอายุ 18-21 ปีได้เรียนระดับสูงขึ้นไป ช่วงที่ตกเป็นอาณานิคม อุตสาหกรรมได้พัฒนาไป
บ้างแล้ว
พ.ศ. 2490 อุตสาหกรรมขยายเพื่อสนองตอบอุปสงค์ภายในเป็นหลัก อุปสงค์นี้เพิ่มขึ้นจาก
การที่การปฏิรูปและนโยบายกระจายที่ดินทำให้รายได้ของคนส่วนใหญ่คือ ชาวนาเพิ่มขึ้น เสริมด้วย
ผลบวกจากการได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ
พ.ศ. 2503-2523 ผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มในอัตราร้อยละ 20 ต่อปี
ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านอุตสาหกรรมในช่วงเวลานี้เป็นผลมาจากการที่รัฐบาลเกาหลี
นำโดย ปัก จุง ฮี (Park Chung Hee) มีการเข้าแทรกแซงอย่างมาก เริ่มมีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 – 2508) ซึ่ง ตลอดระยะเวลาของแผนนี้ ระบบเศรษฐกิจจะเป็นในรูปแบบของ
“ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมแบบมีการชี้นำ” (guided capitalism) โดยจะมีการปฏิบัติตามหลักการของ
ระบบการประกอบการเสรี และมีการเคารพเสรีภาพความคิดริเริ่มขององค์กรเอกชน แต่รัฐบาลอาจ
จะเข้ามีส่วนร่วมโดยตรงหรืออาจจะให้ข้อแนะนำโดยทางอ้อมแก่อุตสาหกรรมพื้นฐาน หรือด้านอื่นๆ
ที่สำคัญ เช่น การส่งเสริมธุรกิจส่งออก ควบคุมการเงินการธนาคาร มีบทบาทสำคัญในการพัฒนา
กำลังคน และอื่นๆอย่างกว้างขวางโดยไม่ล้มเลิกระบบตลาด กล่าวคือ ใช้ระบบเอกชน แต่ไม่ได้เสรี
เต็มที่ดังที่เข้าใจกัน
สำหรับนโยบายการค้า หลายประเทศในเอเชียตะวันออก พัฒนาอุตสาหกรรมโดยส่งเสริม
เขตเศรษฐกิจเพื่อการส่งออก (Export Processing Zone หรือ EPZ) หรือเขตอุตสาหกรรมส่งออกและ
ปลอดภาษี แต่สินค้าที่ผลิตจาก EPZ แล้วส่งออกเป็นเพียงร้อยละ 5 ของสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกทั้ง
หมดของเกาหลีใต้เมื่อทศวรรษ 2520
ในระยะแรกๆ อุตสาหกรรมขยายเพื่อสนองตลาดภายใน ต่อมาเมื่อเงินความช่วยเหลือจาก
สหรัฐฯ ลดลงปลายทศวรรษ 2500 จึงหันไปส่งเสริมอุตสาหกรรมส่งออกด้านนโยบายการค้าระหว่าง
ประเทศ ในช่วง พ.ศ.2504-2522 เกาหลีใต้มีนโยบายดังต่อไปนี้คือ
1.ควบคุมการนำเข้าค่อนข้างเข้มงวดโดย ให้นำเข้าเฉพาะที่จำเป็น และถ้าการนำเข้านำไปสู่
การส่งออก มีการห้ามนำเข้าสินค้าฟุ่มเฟือย
2.อุตสาหกรรมภายในได้รับการคุ้มครองอย่างมาก โดยการตั้งกำแพงภาษีสูง พ.ศ.2511 อัตรา
การคุ้มครองจริง (Effective Rate of Protection) สูงถึงร้อยละ 92 สำหรับสินค้าที่แข่งกับสินค้านำเข้า
แต่อุตสาหกรรมที่ได้รับการคุ้มครองต้องส่งออกด้วย มีการลดค่าเงินวอนเทียบกับดอลล่าร์สหรัฐฯ ทำ
ให้สินค้านำเข้าแพง สินค้าออกในตลาดโลกมีราคาลดลง
นโยบายด้านเครดิต และการส่งเสริมการลงทุนภาคอุตสาหกรรม
ทศวรรษ 2500 ธนาคารเป็นของรัฐบาล ดังนั้นรัฐบาลจึงใช้ธนาคารเหล่านี้เป็นเครื่องมือเพื่อ
การระดมเงินออมจากประชาชน ในขณะเดียวกันก็ใช้นโยบายการเกื้อหนุนนักลงทุนโดยคิดดอกเบี่ย
ราคาถูกในการให้กู้ระยะยาวเพื่อการอุตสาหกรรม โดยเฉพาะถ้าเป็นธุรกิจส่งออกจะได้รับการ
อุดหนุนเป็นพิเศษ การศึกษาของธนาคารโลกสรุปว่า เกาหลีใต้ควบคุมระบบธนาคารอย่างเคร่งครัด
และประสบความสำเร็จทำให้ระบบธนาคารของรัฐเป็นเครื่องมือส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม ทศ
วรรษ 2500 และ 2510 รัฐบาลวางนโยบายกดดอกเบี้ยให้ต่ำโดยตลอดเพื่อส่งเสริมการลงทุน(World
Development Report 1989)
นอกจากจะใช้นโยบายให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำแล้วยังมีการกู้เงินจากต่างประเทศเพื่อลงทุน
อุตสาหกรรมด้วยในทศวรรษ 2510 โดยเฉพาะ พ.ศ. 2517 กู้เงินมาเพราะต้องนำมาเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อ
ราคาน้ำมันสูงขึ้น ทำให้การเป็นหนี้ต่างประเทศและอัตราการชำระหนี้สูงขึ้น
การก่อหนี้ต่างประเทศไม่ได้สร้างปัญหาให้กับเกาหลีใต้มากมายเพราะ


1.หนี้ส่วนใหญ่เป็น
หนี้ระยะยาว และนำไปใช้ได้ผล ดังนั้นเมื่อถึงเวลาชำระหนี้จึงมีเงินตราต่างประเทศจากการส่งออก
เพียงพอ


2.รัฐบาลวางมาตรการรัดกุมเพื่อลดต้นทุนการใช้น้ำมัน เมื่อน้ำมันมีราคาแพงขึ้น
ความหลากหลายของอุตสาหกรรม
การพัฒนาอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้เป็นขั้นตอนดังนี้คือ เริ่มด้วยอุตสากรรมทดแทนการนำ
เข้าประเภทสินค้าบริโภค เช่น ทอผ้าและอุตสาหกรรมเบาอื่นๆ แล้วขยายไปสู่อุตสาหกรรมหนัก เช่น
เหล็ก รถยนต์ ปิโตรเคมี ในด้านการลงทุนจากต่างประเทศ รัฐบาลแยกชัดเจนระหว่างการลงทุนโดย
ตรงจากต่างประเทศและการผลิตภายใต้สัญญาที่เรียกว่า Licensing





การลงทุนจากต่างประเทศและความเป็นเจ้าของ
รัฐบาลเกาหลีใต้ไม่ส่งเสริมให้ต่างชาติเข้าเป็นเจ้าของกิจการในประเทศโดยไม่จำเป็น ดังนั้น
ธุรกิจต่างชาติมีน้อย ส่วนใหญ่อยู่ในอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส์ ระหว่าง พ.ศ. 2505-2522 การลงทุน
โดยตรงจากต่างประเทศมีเพียงร้อยละ 1.2 ของเงินลงทุนทั้งหมดภายในประเทศ สัดส่วนของ FDI ใน
GNP น้อยกว่าครึ่งหนึ่งขงสัดส่วนในอาร์เจนตินา บราซิล เม็กซิโก
ธุรกิจอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้อยู่ในกำมือของธุรกิจขนาดใหญ่ที่เรียกว่า Chaebols มีครอบ
ครัวใหญ่เป็นเจ้าของมีลักษณะเหมือน Zaibatsu ของญี่ปุ่น ตรงที่ว่าประเภทสินค้าผลิตโดยแชโบส์มี
หลากหลายและเกี่ยวโยงกัน
กลุ่มแชโบลส์ใหญ่ๆ เช่น ฮุนได(Hyundai) ผลิตรถยนต์ ก่อสร้าง ซีเมนต์ ต่อเรือ และเหล็ก
กล้า
ซัมซุง(Samsung) ทำกิจการ สถานเริงรมย์ โรงแรม หนังสือพิมพ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิคส์
แดวู(Daewoo) ทำกิจการต่อเรือ และอิเล็คทรอนิคส์ ลักกี้ โกลสตาร์(Lucky Goldstar) ผลิตพลาสติก
และอิเล็คทรอนิคส์
แชโบลล์ มีขนาดใหญ่มาก แต่อยู่ในความควบคุมของรัฐบาล เพราะพึ่งเครดิตราคาถูกจากรัฐ
บาล พวกบริษัทใหญ่ๆ จะใช้ระบบการผลิตทั้งที่ตนเองผลิตเอง และส่งเหมาช่วงงาน(sub-contract)
ให้แกธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ดังนั้น ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กจะโยงเกี่ยวกับธุรกิจ
ขนาดใหญ่ คือพวกแชโบลส์ โดยระบบเหมาช่วงงาน คล้ายๆกับในญี่ปุ่น ทำให้ธุรกิจขนาดเล็ก
สามารถเพิ่มผลิตภาพ บางทีได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคและการเงินจากธุรกิจขนาดใหญ่ การที่
บริษัทขนาดใหญ่ได้รับความเกื้อหนุนจากรัฐบาล ทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจทางเศรษฐกิจ
และการเมือง
เทคโนโลยี
การยืมเทคโนโลยีต่างจากการที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของเกาหลีใต้ในช่วง 50ปีที่ผ่านมา การ
ยืมเทคโนโลยีเป็นของธรรมดาที่เกิดขึ้นทั่วไป อาจจะมีข้อยกเว้นในกรณีของอังกฤษ ซึ่งเป็นประเทศ
พัฒนาอุตสาหกรรมเริ่มแรก ต้องคิดเทคโนโลยีเองส่วนใหญ่
กรณีเกาหลีใต้ แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการนำเข้าเทคโนโลยีที่เหมาะสม เอามาปรับ
กับสภาพท้องถิ่น และนำมาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น ยกตัวอย่างบริษัทผลิตเหล็กโปฮัง (Pohang Steel
Company) เริ่มแรก ยืมเทคโนโลยีมาจากญี่ปุ่น 10กว่าปีต่อมา สามารถพัฒนาเทคโนโลยีได้เองจนขาย
เทคโนโลยีให้สหรัฐอเมริกาได้
เหตุใดที่เกาหลีใต้จึงสามารถปรับปรุงเทคโนโลยีของตัวเองได้ คำตอบก็คือ การเข้าแทรกแซงของรัฐ
บาลในเรื่องต่อไปนี้
1. ในการช่วยให้คนในประเทศเรียนรู้เทคโนโลยี
2. ส่งเสริมการฝึกอบรมต่างประเทศของผู้จัดการ และวิศวกรอย่างแข็งขัน
3. ส่งเสริมการใช้ที่ปรึกษาต่างประเทศที่เรียกว่า Consultant
4. รัฐบาลมีส่วนร่วมในการเจรจาซื้อเทคโนโลยี หรือผลิตแบบ Licensing
5. เทคโนโลยีไม่ใช่เป็นเรื่องของเทคนิคที่เกี่ยวโยงกับเครื่องจักร ทุน เท่านั้น แต่ยังมีบทบาท
สำคัญด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รัฐบาลส่งเสริมการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกร และ
สนับสนุนการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จนทำให้อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมของประชากรอยู่ใน
อัตราสูง
บทบาทของรัฐ ไม่ใช่เพียงเพิ่มค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา (Research & Development)
แต่ในการประสานงานเพื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ให้มีประสิทธิภาพ และไม่ถูกครอบงำโดยต่างประเทศ
ตลาดแรงงาน
เกาหลีใต้พัฒนาอุตสาหกรรมโดยใช้ระบบโรงงานนรก (sweat shops) คนงานต้องทำงาน
เฉลี่ยวันละหลายชั่วโมง และมีการใช้แรงงานหญิงเป็นจำนวนมากในโรงงานอุตสาหกรรม ดังจะเห็น
ได้จากสถิติต่อไปนี้
1. พ.ศ. 2527 ผู้ใช้แรงงานชายและหญิงร้อยละ 73 และร้อยละ 62 ตามลำดับ ทำงานสัปดาห์
ละ 54 ชั่วโมงเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากลทั่วไปเท่ากับสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง
2. ระดับค่าจ้างจะเพิ่มขึ้นในช่วง ทศวรรษ 2500 2510 แต่เพิ่มจากฐานที่ต่ำมาก พ.ศ. 2512 ค่า
จ้างเฉลี่ยเท่ากับ 50-70 ดอลล่าร์สำหรับ และไม่ต่างจากระดับค่าใช้จ่ายต่ำสุดเพื่อดำรงชีวิตเท่าใดนัก
ค่าจ้างมีระดับต่ำมาก โดยเฉพาะกรณีของโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2520 ค่าจ้างเฉลี่ยของสาวโรงงานคิดเป็นร้อยละ 52 ของรายได้ของคนงานชาย ช่องว่าง
ระหว่างคนงานหญิงชายนี้สูงมากกว่าประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ สถิติเหล่านี้ชี้ว่าเกาหลีใต้มีระบบโรง
งานนรก ถึงค่าจ้างที่แท้จริงเพิ่มขึ้นจากการมีสหภาพแรงงานที่เข้มแข็ง แต่รัฐบาลก็ควบคุมสหภาพ
แรงงานอย่างจริงจัง
การควบคุมสหภาพแรงงานของรัฐบาล
1. สมัยอาณานิคมใช้ระบบซัมโป (Sampo) มีวิธีการหลายวิธีคือ รัฐบาลส่งเสริมให้คนงาน
และนายจ้างเข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมคนรักชาติเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
2. ทศวรรษ 2500 - 2510 มีการก่อตั้งสมาคมคนงาน โดยบริษัทให้เงินสนับสนุน และเพื่อกีด
กันมิให้สหภาพคนงานขยายตัวไป และก็ดูจะประสบความสำเร็จเพราะคนงานที่เป็นสมาชิกสหภาพมี
สัดส่วนต่ำ
3. รัฐบาลควบคุมสหภาพแรงงานแข็งขัน ทศวรรษ 2510 ตลาดแรงงานตึงตัว สหภาพเริ่มแข็ง
จึงมีการนำเอาระบบ Sampo มาใช้อีก และมีการใช้ตำรวจและหน่วยสืบราชการลับควบคุมคนงาน
4. ทศวรรษ 2510 สหภาพแรงงานไม่แข็งเพราะระบบเศรษฐกิจมีการว่างงานสูง (ร้อยละ 16
พ.ศ. 2507 และร้อยละ 13 พ.ศ. 2510) และมีแรงงานส่วนเกินทะลักออกมาจากชนบท นอกจากนี้รัฐ
บาลใช้มาตรการควบคุมเข้มงวดมาก
สภาพสาธารณูปโภค
รัฐบาลลงทุนด้านสาธารณูปโภคมาก โดยเฉพาะ แก็ส ไฟฟ้า น้ำประปา รถไฟ และชล
ประทาน การใช้จ่ายของรับบาลมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20 ของ GNP และรัฐบาลลงทุนคิดเป็นสัดส่วนถึง
ร้อยละ 23 ของการลงทุนทั้งหมด
ภาคเกษตร
กลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้เน้นการใช้แรงงานราคาถูกในโรงงานที่ใช้แรง
งานเข้มข้น เพื่อได้ประโยชน์จาการมีแรงงานส่วนเกิน แล้วเน้นเพิ่มผลิตภาพสูงกว่าการเพิ่มของค่าจ้าง
ที่ทำเช่นนี้ได้เพราะ ราคาสินค้าอาหาร(สินค้าเกษตร) ต่ำกว่าราคาตลาดโลก ผลสองประการของ
การกดราคาอาหารต่ำคือ
1. ค่าจ้างไม่ต้องเพิ่มมาก เพื่อดึงคนออกจากเกษตร
2.ค่าครองชีพต่ำเป็นการอุดหนุนธุรกิจอุตสาหกรรม และป้องกันมิให้สหภาพแรงงานเรียก
ร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น
นโยบายการเก็บภาษีจากภาคเกษตร เพื่อช่วยการสะสมทุนในอุตสาหกรรมเป็นนโยบายที่รัฐ
บาลญี่ปุ่นเคยใช้มาก่อนแล้ว กรณีเกาหลีใต้ก็ใช้วิธีคล้ายกันคือ
1.ให้ราคาสินค้าเกษตรต่ำ โดยวิธีเปรียบเทียบกับราคาสินค้าอุตสาหกรรมเท่ากับว่ายอมให้
อัตราการค้า (terms of trade) ระหว่างสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเป็นประโยชน์กับอุตสาห
กรรม ระหว่าง พ.ศ. 2506 ถึง 2512 อัตราส่วนระหว่างสินค้าเกษตรโดยเฉลี่ยเทียบกับราคาสินค้าอุต
สาหกรรมลดลงจาก 163 เป็น 139 เท่ากับเกษตรซื้อของอุตสาหกรรมแพงขึ้น
2. รัฐบาลแทรกแซงตลาดค้าข้าว และปัจจัยการผลิตเกษตร จึงมีการขนถ่ายส่วนเกินจากภาค
เกษตรที่รัฐควบคุมคือ รัฐบาลรับซื้อข้าวราคาถูก แต่ขายปัจจัยการผลิตในราคาแพง
3. นอกจากนี้รัฐบาลได้รับเงินช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ในรูปข้าวสาลีราคาถูกสัดส่วนของข้าว
สาลีราคาถูกที่ซื้อมาจากสหรัฐฯ เพิ่มจากร้อยละ 6 พ.ศ. 2507 เป็นร้อยละ 25 พ.ศ. 2514
ด้วยนโยบายต่างๆดังกล่าว รายได้ภาคเกษตรจึงเป็นเพียง 1/3 ของรายได้ของเศรษฐกิจภาค
การเมืองเมื่อพ.ศ. 2514
ทศวรรษ 2510 อัตราการค้าระหว่างประเทศ (Terms of trade) เปลี่ยนไปเป็นผลดีกับเกษตร
เมื่อสหรัฐฯลดการช่วยเหลือข้าว ทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น
ทศวรรษ 2510 รัฐบาลขูดรีดเกษตรกรน้อยลง เพราะชาวชนบทเริ่มต่อต้านรัฐบาลเผด็จการ
ทหารด้วย โดยสนับสนุนการเมืองฝ่ายค้าน ทำให้รายได้ของภาคเกษตรดีขึ้น และมีผู้เสนอว่า การเอา
เปรียบชาวนาโดยรัฐบาลหลังปี 2488 มีน้อยกว่าสมัยตกเป็นอาณานิคมของญี่ปุ่น
สรุปช่วง พ.ศ. 2504-2522 รัฐบาลมีนโยบายเศรษฐกิจสำคัญๆ คือ
1.มีการแทรกแซงจากรัฐบาลสูง ภายใต้รัฐบาลเผด็จการ มีการชี้นำทางเศรษฐกิจ และมี
นโยบายควบคุมทางการเมือง
2.ในการเตรียมและใช้นโยบาย มีการประสานงานใกล้ชิดด้านรายละเอียดระหว่างรัฐบาล
(รมต) ผู้นำธุรกิจและเทคโนแครต หรือข้าราชการกระทรวงสำคัญ
3.ใช้นโยบายดอกเบี้ยต่างระดับ ส่งเสริมอุตสาหกรรมเฉพาะสาขาเฉพาะราย
4.รัฐบาลสนับสนุนการซื้อถ่ายโอนเทคโนโลยีมากกว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
และไม่สนับสนุนให้ต่างชาติเข้าเป็นเจ้าของกิจการในประเทศยกเว้นในบางกรณี